Search results

264 results in 0.7s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ผลการเปลี่ยนแปลง และการเรียนรู้ในระดับบุคคล กลุ่มบุคคลและหน่วยงาน รวมทั้งความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล 2 วงจร ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยจำนวน 17 คน ในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่ง สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลนาโป่ง จังหวัดเลย โดยวงจรแรกดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน-กันยายน พ.ศ. 2559 วงจรที่สองระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559-เมษายน พ.ศ. 2560 ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานในขั้นตอนการเตรียมการ และในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล ทั้ง 2 วงจร เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีผลการประเมินจากการประเมินคุณภาพภายนอกในตัวบ่งชี้ที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาเพิ่มขึ้น จากเดิมอยู่ในระดับพอใช้เป็นระดับดีมาก เกิดการเรียนรู้ที่สำคัญทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล และหน่วยงาน คือ การจัดการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และผลจากการวิจัยได้ก่อให้เกิดความรู้ใหม่จากการปฏิบัติจริงในภาคสนามที่สำคัญ คือ การพัฒนาโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาตามรูปแบบที่เรียกว่า “NAPONG Model” ใน 4 ด้าน คือ 1) การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น 2) การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 4) การได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองและชุมชน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ผลการเปลี่ยนแปลง และการเรียนรู้ในระดับบุคคล กลุ่มบุคคลและหน่วยงาน รวมทั้งความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล 2 วงจร ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยจำนวน 17 คน ในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่ง สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลนาโป่ง จังหวัดเลย โดยวงจรแรกดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน-กันยายน พ.ศ. 2559 วงจรที่สองระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559-เมษายน พ.ศ. 2560 ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานในขั้นตอนการเตรียมการ และในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล ทั้ง 2 วงจร เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีผลการประเมินจากการประเมินคุณภาพภายนอกในตัวบ่งชี้ที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาเพิ่มขึ้น จากเดิมอยู่ในระดับพอใช้เป็นระดับดีมาก เกิดการเรียนรู้ที่สำคัญทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล และหน่วยงาน คือ การจัดการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และผลจากการวิจัยได้ก่อให้เกิดความรู้ใหม่จากการปฏิบัติจริงในภาคสนามที่สำคัญ คือ การพัฒนาโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาตามรูปแบบที่เรียกว่า “NAPONG Model” ใน 4 ด้าน คือ 1) การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น 2) การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 4) การได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองและชุมชน
The objectives of this research were to study the performance, change results and personal learning. Individuals and organizations Including new knowledge gained from the practice in the cycle of Planning, Observing, and Reflecting the two cycles according to Participatory Action Research methodology with 17 researchers in Napong Municipality Kindergarten. The first cycle was from April to September, 2016. The second cycle was between October, 2016 to April, 2017. The findings showed that the implementation of the preparation process. And in the cycle of Planning, implementation, observation and reflection, the two circuits are in accordance with the Plan. Which sends the effectiveness of the school. The results of the external quality assessment in the indicator are the focus of development. The level of good is very good. The importance of learning at the individual, group and individual level is the result of the successful education of all stakeholders. The results of the research have generated new knowledge from the field practice. The important thing is the development of kindergartens in Napong to be effective. It is important to focus on the development in the form called “NAPONG. Model” in 4 areas : 1) School-based management of local development; 2) Development of curriculum and instructional activities focused on learners; Each use of resources and traditional knowledge; and 4) recognition from parents and the community.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
The objectives of the research entitled “Ethical Concepts in Postmodernism” were as follows: 1) to study Ethics, 2) to study Postmodernism, 3) to analyze ethical concepts in Postmodernism, and 4) to criticize ethical concepts in Postmodernism. This qualitative research was conducted as Documentary Research by applying both primary and secondary sources concerning Ethics and Postmodernism. Then, the data were analyzed and criticized in style of Critical Description to formulate conceptual framework, on the basis of Normative Ethics. The results of the research were found that the problems emerging in Modernism was the crisis of human value. It is required that virtue ethics, embedded in a human body, must be proposed to solve the problems. It is comprised of: 1) “Virtue of Character” is the awareness of human as value of metaphysic identity. As of this, an existence must create essence by endowed freedom in connection with others in the world for the purpose of authentic existence manifestation in the first place, including the awareness of humanly specific genies in the second place, and in the final place, human ways of spiritual being in 3 aspects such as (1) search for truth of human, (2) search for meanings of life, and (3) search for meaning of living. 2) Practical Wisdom is the awareness of society as value of spacio-ethics in which humans must live as space of interdependence and respect the scope of mutual freedom. 3) Flourishing Happiness is the awareness of science as value of epistemological instrument. This demonstrates that scientific epistemology has been developing with long-formulation to advance human lives only, so the application of entity of science requires greatness of ethical care. For that reason, once the previous Modernism society confronted with the “Crisis of Human Value”, “Virtue Ethics” must be educated into the current Postmodernism society so as to foster mutual habitation with real blessing.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
The objectives of the study were: 1) to study the components of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission, 2) to create a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission and, 3) to evaluate and verify the implication of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission. The mixed methods research was used in this study. The sample of the study was the administrators and teachers from 182 opportunity expansion schools totally 728 participants. The reliability of questionnaire was 0.991. The research instruments were interview, questionnaire, and the model assessment. The statistics used in the analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, linear relationship analysis, and content analysis. The results of the research were as follows: 1. The components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate were found 8 components as 1) cognitive process, 2) leadership, 3) morale, 4) learning, 5) educational technology, 6) environment, 7) development of educational quality and, 8) organizational satisfaction. 2. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate that is related to all 8 elements were statistically significant at the 0.1 level. 3. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission were at 100% verification of the acceptable range of accuracy, suitability, possibility, and practicality, corresponding to the theoretical studies.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินรับรองกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) แบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 119 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.345-0.851 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มีสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสา ใน 4 แนวทาง คือ 1) ด้านส่งเสริมนโยบายพัฒนาจิตอาสา 2) ด้านการเรียนรู้บูรณาการสู่จิตอาสา 3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสา และ 4) ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสู่จิตอาสา ทุกแนวทางมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มี 4 กลยุทธ์ 12 กลยุทธ์ย่อย และ 72 กลวิธี 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินและรับรองในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ( = 4.48) จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินรับรองกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) แบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 119 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.345-0.851 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มีสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสา ใน 4 แนวทาง คือ 1) ด้านส่งเสริมนโยบายพัฒนาจิตอาสา 2) ด้านการเรียนรู้บูรณาการสู่จิตอาสา 3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสา และ 4) ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสู่จิตอาสา ทุกแนวทางมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มี 4 กลยุทธ์ 12 กลยุทธ์ย่อย และ 72 กลวิธี 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินและรับรองในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ( = 4.48) จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
The purposes of this research were: 1) to study management conditions that Schools Administration for Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis 2) to develop strategy management model for Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis, and 3)to assess and certify the Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis. The descriptive research and mixed research method was used in the study. from 480 samples of 119 special education schools. The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires, and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.60- 1.00 discriminatory power equal to 0.34-0.85 with confidential level at 0.98.The data were analyzed by descriptive statistics including frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation through statistical computer package. The results of this research revealed that: 1.The study management conditions that schools administration for strengthen the morality ethics of volunteerism in schools under the secondary educational service area office in Bangkok Metropolis. The average is at a high level. There were 4 strengthen for developing students’ public mind include; 1) Strategy to promote volunteerism development policy, 2) Integrated learning strategy, 3) Strategy for participation in volunteer activities and 4) Moral promotion strategy ethics for volunteering. 2. The develop strategy management model for strengthen the morality ethics of volunteerism in schools under the secondary educational service area office in Bangkok Metropolis include; of 4 strategy, 12 sub strategy and 72 techniques. 3. The results of assessment and approval of the model in terms of accuracy, suitability, possibility and benefits from 17 experts were at a high level ( = 4.48). It could be concluded that the model was above the specified criteria and approved.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
The objectives of this research were: 1) to study the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya under Mahachulalongkornrajavidyalaya university, and 2) to develop the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya. The mixed methods research was used in study. 340 samples consist of administrators, committee, and teachers of 34 schools obtained by were used in the study. The data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis by statistical software. The results of the study were as follows: 1) The components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of 4 main components and 16 subcomponents. 2) The results of the development of components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of the empirical data at χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 and RMSEA = 0.000. Consists of 4 main-components: 1) Preservation, consist of 1.1) Catching), 1.2) Complacence, and 1.3) Policy. 2) Resource, consist of 2.1) Training, 2.2) Evaluation, 2.3) Reward, 2.4) Selection, and 2.5) Recruiting. 3) Motivation, consist of 3.1) Physical, 3.2) Security, 3.3) Success, and 3.4) Social. And 4) Culture, consist of 4.1) Stability, 4.2) Ownership, 4.3) Ceremony, and 4.4) Norm.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 30,359 teachers under the jurisdiction of the local administration. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 660 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 52 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), root mean square error of approximation (RMSEA), goodness-of-fit index (GFI) adjusted goodness-of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and normed fit index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.73 to 1.48, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.67 to 1.72 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.37, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ 3. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม 4. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ 16 รูป/คน ผลจากการวิจัยพบว่า : 1. การเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ทฤษฏีตะวันตก ด้านปัญญามีการพัฒนาตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ด้านอารมณ์ มีการเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง และผู้อื่น ปรับตนเองและประพฤติปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่นอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. หลักพุทธธรรมการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาใช้ ภาวนา 4 และโยนิโสมนสิการ ด้านอารมณ์โดยใช้ กัลยาณมิตร จริต 6 สัปปายะ 7 3. วิธีบูรณาการนำแนวคิดในการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ตามแนวทฤษฏีตะวันตก บูรณาการกับหลักพุทธธรรม ผลคือแนวทฤษฏีตะวันตก มีความสอดคล้องกันกับหลักพุทธธรรมในที่สุด 4. เมื่อบูรณาการแล้วได้รูปแบบ MODEL การสร้างเสริมพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม ได้แก่ “MEW MODEL” Morality หมายถึง คุณธรรมภายในเป็นสัมมาทิฏฐิ Ethics หมายถึง จริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม Wisdom หมายถึง ปัญญา มีหลักวิธีการคิดและการปฏิบัติที่ถูกต้อง
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ 3. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม 4. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ 16 รูป/คน ผลจากการวิจัยพบว่า : 1. การเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ทฤษฏีตะวันตก ด้านปัญญามีการพัฒนาตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ด้านอารมณ์ มีการเรียนรู้จักอารมณ์ของตนเอง และผู้อื่น ปรับตนเองและประพฤติปฏิบัติต่อตนเองและผู้อื่นอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. หลักพุทธธรรมการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาใช้ ภาวนา 4 และโยนิโสมนสิการ ด้านอารมณ์โดยใช้ กัลยาณมิตร จริต 6 สัปปายะ 7 3. วิธีบูรณาการนำแนวคิดในการเสริมสร้างการพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและด้านอารมณ์ตามแนวทฤษฏีตะวันตก บูรณาการกับหลักพุทธธรรม ผลคือแนวทฤษฏีตะวันตก มีความสอดคล้องกันกับหลักพุทธธรรมในที่สุด 4. เมื่อบูรณาการแล้วได้รูปแบบ MODEL การสร้างเสริมพัฒนาความสามารถในด้านปัญญาและอารมณ์ด้วยหลักพุทธธรรม ได้แก่ “MEW MODEL” Morality หมายถึง คุณธรรมภายในเป็นสัมมาทิฏฐิ Ethics หมายถึง จริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม Wisdom หมายถึง ปัญญา มีหลักวิธีการคิดและการปฏิบัติที่ถูกต้อง
The objectives of this dissertation were: 1) To study the reinforcement of development in intellectual and emotional ability, 2) To study the Buddhist principles concerming the reinforcement of development in intellectual and emotional ability, 3) to integrate the reinforcement of development in intellectual and emotional ability with Buddhist principles, and 4) To propose guidelines and a new body of knowledge in a model of the reinforcement of development in intellectual and emotional ability with the Buddhist principles. The data of this qualitative study were collected from in-depth interviews with 16 experts. The result of the study were found that : 1. According to the western theory, the development of intellectual can occur appropriately in each step of age. The emotional development is to know the emotion of oneself or of the others and to adjust oneself and treat oneself and the others appropriately. 2. The Buddhist principles used in reinforcement of intellectual abilility consist of the 4 principles of Bhavana and the principles of yonisomanasikara. The intellectual ability can be developed by the principles of Kalyanamitta, Carita and Sappaya. 3. The integration of the reinforcement of development in intellectual and emotional ability according to the western theory with the Buddhist principles reveals that the concept of development in intellectual and emotional ability is relevant to the principles of Buddhism. 4. The model obtained from the integration is "MEW MODEL" The model consists of Morelity, Ethics and Wisdom.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่ง ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 มีอาจารย์เป็นผู้ร่วมวิจัยโดยความสมัครใจ 21 คน และมีนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนา 40 คน โดยมีความคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ 1) มีการเปลี่ยนแปลงตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดที่ดีขึ้น 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ และ 3) ได้รับองค์ความรู้จากการปฏิบัติที่จะเป็นบทเรียนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมพัฒนาระบบอีเลิร์นนิง โปรแกรมพัฒนาการเรียนรู้ในรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน และโปรแกรมการเสริมทักษะการจัดทำสื่อออนไลน์ให้กับอาจารย์ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติที่หลากหลาย แต่การเรียนรู้ที่ทุกกลุ่มเห็นพ้องต้องกัน คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วม การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา และการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับ (Force-Field Analysis) ของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และ 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย จะนำไปศึกษา การทบทวน และแสวงหาชุดของความคิดและความเชื่อใหม่เพิ่มเติมที่จะทำให้การพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่งในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะธรรมชาติของการพัฒนาไม่มีวันจบสิ้น แต่จะยังดำเนินต่อไปในลักษณะที่เป็นวงจรแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่ง ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 มีอาจารย์เป็นผู้ร่วมวิจัยโดยความสมัครใจ 21 คน และมีนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมพัฒนา 40 คน โดยมีความคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ 1) มีการเปลี่ยนแปลงตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดที่ดีขึ้น 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ และ 3) ได้รับองค์ความรู้จากการปฏิบัติที่จะเป็นบทเรียนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมพัฒนาระบบอีเลิร์นนิง โปรแกรมพัฒนาการเรียนรู้ในรายวิชาการปฏิบัติกรรมฐาน และโปรแกรมการเสริมทักษะการจัดทำสื่อออนไลน์ให้กับอาจารย์ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และวิทยาเขต ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติที่หลากหลาย แต่การเรียนรู้ที่ทุกกลุ่มเห็นพ้องต้องกัน คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วม การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา และการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับ (Force-Field Analysis) ของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และ 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย จะนำไปศึกษา การทบทวน และแสวงหาชุดของความคิดและความเชื่อใหม่เพิ่มเติมที่จะทำให้การพัฒนาการเรียนรู้โดยระบบอีเลิร์นนิ่งในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะธรรมชาติของการพัฒนาไม่มีวันจบสิ้น แต่จะยังดำเนินต่อไปในลักษณะที่เป็นวงจรแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
This research aimed to develop learning by e-learning system in Mahamakut Buddhist University, Mahavajiralongkorn Rajaviyalaya Campus. The method used in this study was Participatory Action Research that consisted of two cycles of planning, practice, observation, and reflection during two semesters in the academic year 2020. Twenty-one teachers and forty students were voluntarily involved with the desired development and participated in this research. The three expectations from the development outcomes were: 1) the improvement under the identified indicators, 2) the researcher, the research participants, and the campus learned from practice, and 3) knowledge gained from practice will benefit continuous improvement in the future. The research findings illustrated three following aspects. Firstly, in both Cycles 1 and 2, the means of post-practice evaluations were higher than the means of pre-practice evaluations in the following programs; e-learning system development, meditation practice learning development, and teacher's skill enhancement for creating online media. Secondly, the researcher, the research participants, and the campus learned the following common aspects: an awareness of the importance of participation, being an all-the-time learner, and transcribing lessons from practice which was previously often neglected. Finally, the knowledge gained correlates with Kurt Lewin's Force-Field Analysis which consists of the following concepts: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change and 4) Overcoming resistance. Each component defines a set of thoughts and beliefs that Mahamakut Buddhist University, Mahavajiralongkorn Rajaviyalaya Campus, will implement as a basis for reviewing and strengthening an additional set of ideas and beliefs.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
พบว่า ทุกโมเดลตามสมมติฐานการวิจัยสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก นอกจากนี้ ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของตัวบ่งชี้มีนัยสำคัญทางสถิติทุกค่า แสดงว่าตัวบ่งชี้ทั้งหมดนี้เป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญขององค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันของโมเดล ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ตัวบ่งชี้ทั้ง 16 ตัว มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01) โดยตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์สูงที่สุด คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณาและการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา คือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.705 ส่วนตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์กันน้อยที่สุดคือการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยกรุณาคือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.140 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นและมีการปฏิบัติรวมทั้งมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรนำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทุกตัวไปปฏิบัติในการดำเนินงานจริง ซึ่งสอดคล้องหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัย ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to develop indicators and to model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) to test the coherence of the structural relationship model of the indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration with developed by empirical data, 3) to identify the indicator element and indicator behaviors with structural integrity or the element's weight value according to the specified criteria and, 4) to study the guidelines for Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration by the mixed methods research; qualitative research and quantitative research. The sample group used in the research was educational institutions under Bangkok Metropolitan Administration totaling 205 schools. The informants consist of school administration, academic supervisors and teachers totaling 615 persons. Two sets of data collection tools were: 1) the questionnaire on Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) structured interview form collected the data in 2020. The statistics used for data analysis are Mean, Standard deviation, Coefficient of Variation, Confirmatory Factor Analysis using a statistical package. The results of the research were as follows: 1) To develop the indicators and model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration. To selected for the structural relation model using the mean criterion equal to or greater than 3.00 and the distribution coefficient equal to or less than 20%. The result of separate element consists as 1) ideological influence with Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; ideological influence that consists of loving-kindness, ideological Influence with compassion, ideological influence consisting of sympathetic joy and, ideological influence consisting of equanimity. 2) inspirational components of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; inspirational kindness, inspirational compassion, inspiration sympathetic joy and inspiration consisting of equanimity. 3) intellectual stimulation component consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; the intellectual stimulation of kindness, intellectual stimulation of compassion, intellectual stimulation sympathetic joy and intellectual stimulation consists of equanimity. 4) The elements considering the individuality consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; consideration of individual with kindness, consideration of the individual with compassion, consideration of the individuality with sympathetic joy, consideration of the individuality with equanimity. 2) The results of the confirmatory component analysis of the 4 models revealed to all models according to the research hypothesis were very consistent with the empirical data. In addition, the component weights of all indicators were statistically significant. It was shown that all of these indicators were important indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under the Bangkok Metropolitan Administration. 3) The results of the Pearson correlation coefficient analysis model. The indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration was found that all 16 indicators had a statistically significant positive correlation at the .01 level (p < .01). The highest correlation indicator was ideological influence with kindness and compassion having a correlation coefficient of 0.705, while the least correlation indicator was motivational with kindness and consideration of the individuality with compassion has a correlation coefficient of 0.140 4) The results obtained from the data analysis of 4 components mentioned above. The experts have opinions and practice as well as encouraging personnel to apply all components and indicators to practice in actual operations. It was consistent or in the same direction as the research results that researcher has developed.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
This research aimed to improve the quality of students in Srikranuan wittayakom School using the concept of Teach Less, Learn More. The method used in this study was Participatory Action Research, and there were twenty teachers voluntarily participating. The study had been done in two semesters of the academic year 2020. The three expectations from the development outcomes were: (1) the improvement under the identified indicators: a) teacher performance, b) organizing teaching activities and c) the students characteristic, (2) the researcher, the research participants, and the entire teaching staff learned from practice, and (3) the body of knowledge, which had been obtained from the practice as a foundation theory in this school context. The results of the study revealed three key features. Firstly, the average means of teacher performance, organization of teaching activities, and student characteristics after the 1st and after the 2nd cycles were higher than before the operation. Secondly, after adopting a participatory approach, researchers, co-researchers, and the entire teaching staff learned the importance and benefits of team collaboration. Lastly, the knowledge gained from the practice of this research consists of the ideas and strategies of the following concepts: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change and 4) Overcoming resistance drive change. The details of each issue can be used as a model for the students' quality development according to the concept of Teach Less, Learn More continuously. Moreover, the concept can be applied to other new conceptual developments.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1) ตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของทุกตัวบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.51 - 4.75 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 3.15 – 19.40 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมสามารถคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างทุกตัวเนื่องจากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า20 % 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล พบว่าโมเดลการวัดแต่ละองค์ประกอบที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลการวิจัยที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก และแสดงว่าองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม เป็นโมเดลที่มีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ขององค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีค่าเป็นบวกตั้งแต่ค่าตั้งแต่ 0.91-0.95 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า เรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากไปหาน้อย คือ การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม (SL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.95 การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม(ML) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.94 การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม (CL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.93 และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม (IL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.91 ซึ่งค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ของทั้ง 4 องค์ประกอบมีค่าเป็นบวก และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษานำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา ด้วยมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัยที่ได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this study are 1) to study an appropriate indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 2) to test the model of indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) to identify the main and minor elements indicator and weighing of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 4) to study the guidelines developing primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission by using Mixed Methods Research. The samples of this study are 379 primary schools under the Office of the Basic Education Commission. The information providers in total are 1,137 consisting of 379 directors/ acting for directors, 1 for each school, and 758 supervisors 2 for each school. Research instruments are 1) questionnaires about primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission of which reliability is .98. 2) structured interviews of the year 2020, statistics used in data analysis are frequency, percentage, average, standard deviation (S.D.), and Confirmatory Factor Analysis: CFA by using statistic application. The research revealed that 1) the average of the indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission is between 3.51 – 4.75 and the distribution coefficient is between 3.15 – 19.40 which showed that the appropriate indicator can be selected for all kinds of Structural Relationship Model because of the average is equal or over 3.00 and the distribution coefficient is equal or under 20%. 2) the result of all 4 models’ CFA showed that all models developed from the theory and the research result which well correspond to the empirical data and revealed that all 4 elements, Moral Idealized Influence, Moral Inspiration Motivation, Moral Intellectual Stimulation, and Moral Individualized Consideration, are Structural Relationship Model of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) The factor loading of all elements is positive, 0.91-0.95, and showed that the statistical significance is at 0.1 level which is sorted from factor loading in descending order. First, Moral Intellectual Stimulation is 0.95. Second, Moral Inspiration Motivation is 0.94. Then, Moral Individualized Consideration is 0.93. And the last, Moral Idealized Influence is 0.91. The factor loading of all elements is positive with the statistical significance is at 0.1 level. 4) According to the results from data analysis above, the expert supported director to provide the elements and indicator in school management which correspond to the research results.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 31,026 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 580 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of Relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) adjusted goodness of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.89 to 1.46, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.61 to 1.29 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.21, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานในวิทยาลัยเทคนิคหนองคายใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดของสถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 19 คน มีนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 30 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) สถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น เช่น ความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานแบบร่วมมือ ความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคายจะนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการทบทวนและเสริมสร้างชุดของความคิดและความเชื่อมเพิ่มเติมที่จะทำให้การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานของวิทยาลัยเทคนิคในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นด้วยวงจรการพัฒนาแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานในวิทยาลัยเทคนิคหนองคายใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดของสถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 19 คน มีนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา 30 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) สถานศึกษา นักศึกษา และสถานประกอบการ ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา ต่างมีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น เช่น ความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานแบบร่วมมือ ความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin ในองค์ประกอบดังนี้ 1) การเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง 2) ปัจจัยผลักดันที่นำมาใช้เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3) สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 4) การเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายถึงชุดของความคิดและความเชื่อที่ถือเป็นบทเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคหนองคายจะนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อการทบทวนและเสริมสร้างชุดของความคิดและความเชื่อมเพิ่มเติมที่จะทำให้การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้เชิงบูรณาการกับการทำงานของวิทยาลัยเทคนิคในอนาคตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นด้วยวงจรการพัฒนาแบบเกลียวสว่านที่ไม่มีสิ้นสุด
This study aimed at investigating the outcomes of the cooperation practices, which were utilized to enhance the quality of work-integrated learning at Nong Khai Technical College. The investigation covered the following three aspects: 1) the changes, which had arisen from the development of specified indicators: educational institution, students, and workplaces; 2) the learning, which had been derived from the practices of the researcher, the research participants, and the educational institution; and 3) the body of knowledge, which had been obtained from the practice as a foundation theory. A participatory action research methodology was adopted, consisting of a cycle of planning, practice, observation, and reflection during two semesters. There were 19 teachers and 30 students involved in this research and development. The results of the study revealed three key features. Firstly, the post-practice evaluation in both the first and the second cycles for the educational institutions, students, and workplaces had been higher than the pre-practice evaluation. Secondly, the researcher, co-researchers, and the educational institutions had learned from various issues of the practice, such as gaining an awareness of the importance of collaborative work, the importance of studying the theoretical perspective in order to enhance the existing knowledge and experiences, and the importance of planning, practice, observation, and reflection in comprehensive work. Finally, the knowledge gained had been found to correlate with Kurt Lewin's Force-Field Analysis which consists of the following steps: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change, and 4) Overcoming resistance. Each component describes a set of thoughts and beliefs that Nong Khai Technical College WiLl implement as a basis for reviewing and strengthening an additional set of ideas and beliefs. This implementation WiLl elevate the cooperation practices, which WiLl, in turn, enhance the quality of work-integrated learning at Nong Khai Technical College in the future.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพในการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจร ของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีผู้บริหาร และครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 20 คน ผู้วิจัย 1 คน รวมเป็นจำนวน 21 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) ผลจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการทำงาน ความตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Lifelong Learners) ความตระหนักถึงความสำคัญของการสะท้อนผลจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย ความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง (Expected Change) กับปัจจัยผลักดัน (Force for Change) ที่นำมาใช้ รวมทั้งสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to Change) และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Overcome Obstacles) ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายตรงตามความคาดหวังของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม เป็นแนวทางในการพัฒนาด้านการเสริมทักษะการใช้โปรแกรมของระบบอี-ออฟฟิศ เกิดทักษะการเรียนรู้การใช้งานในระบบอี-ออฟฟิศได้เป็นอย่างดี การพัฒนาการเรียนรู้ในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ ส่งผลให้ ผู้บริหาร ครู และผู้ร่วมวิจัยมีทักษะที่ดีในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์จากปฏิบัติการความร่วมมือเพื่อยกระดับคุณภาพในการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ใน 3 ประเด็น คือ 1) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม 2) การเรียนรู้จากการปฏิบัติของผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และสถานศึกษา และ 3) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานราก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่ประกอบด้วย 2 วงจร ของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล วงจรละ 1 ภาคการศึกษา มีผู้บริหาร และครูเป็นผู้ร่วมการวิจัย 20 คน ผู้วิจัย 1 คน รวมเป็นจำนวน 21 คน ผลจากการวิจัยพบว่า 1) ผลจากการพัฒนาระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม ต่างมีค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินหลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 สูงขึ้นกว่าก่อนการปฏิบัติ 2) ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติหลายประเด็น คือ ความตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการทำงาน ความตระหนักถึงความสำคัญของการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Lifelong Learners) ความตระหนักถึงความสำคัญของการสะท้อนผลจากการปฏิบัติ ซึ่งแต่เดิมมักปล่อยปละละเลย ความตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาทัศนะทางทฤษฎีเพื่อเสริมความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม และความตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานอย่างครบวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล และ 3) ได้องค์ความรู้จากการปฏิบัติในลักษณะเป็นโมเดลตามกรอบแนวคิดการวิเคราะห์พลังขับของ Kurt Lewin โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่คาดหวัง (Expected Change) กับปัจจัยผลักดัน (Force for Change) ที่นำมาใช้ รวมทั้งสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to Change) และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Overcome Obstacles) ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีคำอธิบายตรงตามความคาดหวังของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคม เป็นแนวทางในการพัฒนาด้านการเสริมทักษะการใช้โปรแกรมของระบบอี-ออฟฟิศ เกิดทักษะการเรียนรู้การใช้งานในระบบอี-ออฟฟิศได้เป็นอย่างดี การพัฒนาการเรียนรู้ในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ ส่งผลให้ ผู้บริหาร ครู และผู้ร่วมวิจัยมีทักษะที่ดีในการใช้งานระบบอี-ออฟฟิศ : กรณีของโรงเรียนวังไม้แดงพิทยาคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
The purpose of this research was to study the results of the cooperation to enhance the quality of E-Office system development: the case of Wangmaidang Pittayakhom School E-Office in 3 issues as follows; 1) Changes arising from the development of e-Office systems. 2) Learning from the practice of the researcher, co-researcher, and educational institution. And 3) the body of knowledge that arises from practice as a Grounded Theory. It uses a participatory action research methodology that consists of two cycles of planning, action, observation, and reflection. It is a one-semester cycle, with 20 administrators and teachers as co-researchers, and one researcher, for a total of 21 people. The results of the research showed that; 1) The results of the development of the system “e-Office (e-Office)” Wangmaidang Pittayakhom School e-Office had high averages from the evaluation results after the implementation of Circuit 1, and Circuit 2 more than before practice. 2) Researcher and co-researcher learned from as follows; Awareness of the importance of participating in work. Awareness of the importance of being lifelong learners. An awareness of the importance of Reflecting from Acting, which was originally often neglected. Awareness of the importance of studying theoretical perspectives to complement existing knowledge and experience, and Awareness of the importance of a comprehensive work of Planning, Acting, Observing, and Reflecting. And 3) Gain knowledge from practice as a model based on Kurt Lewin's drive analysis framework, considering Expected Change and Force for Change applied, Including Resistance to Change and Overcome Obstacles, each of which has a description that meets the expectations of Wangmaidang Pittayakhom School e-Office, which is a guideline for developing skills in using e-Office system programs until learning skills. It works well in the system. The development of learning to use the e-Office system results in Administrators, teachers, and co-researchers have good skills in using the e-Office system effectively.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญา 3) เพื่อบูรณาการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา และ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่ เรื่อง รูปแบบการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ พระสงฆ์/นักวิชาการเกษตร ในเขตจังหวัดตรัง จำนวน 19 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ก. สภาพปัญหากรรมสิทธิ์ในที่ดิน เกษตรกรบางรายมีที่ดินทำกิน แต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือเช่าที่ดินผู้อื่น ทำให้ต้องบุกรุกใช้ประโยชน์ที่ดินรกร้างว่างเปล่าของรัฐหรือเขตป่าสงวนแห่งชาติ ข. สภาพปัญหาราคาสินค้าเกษตรตก ต่ำ เกิดจากเกษตรกรนิยมปลูกพืชชนิดเดียวกันและผลผลิตออกพร้อมกัน แล้วหันไปปลูกพืชที่มีราคาสูงในปีถัดไป ค. สภาพปัญหาการขาดนวัตกรรมใหม่ ๆ เกษตรกรพึ่งพาเทคโนโลยีในการผลิตทุกขั้น ตอนมากเกินไป ไม่คุ้มทุน ทำให้มีหนี้สินเพิ่มมากขึ้น ง. สภาพปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ได้แก่ ปัญหาด้านป่าไม้ ปัญหาด้านดิน ปัญหาการใช้ที่ดิน ปัญหาการบุกรุกพื้นที่สาธารณประโยชน์ ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาการกาจัดสิ่งปฏิกูล ปัญหาอากาศเสีย ปัญหาน้ำเสียและปัญหาเสียงรบกวน หลักพุทธปรัชญาในการแก้ปัญหาของเกษตรกรจังหวัดตรัง 1) อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น คือ ขยันหมั่นเพียร ฝึกฝนให้มีความชำนาญและรู้จริง รู้จักใช้ปัญญาสอดส่อง ตรวจตรา หาวิธีการที่เหมาะสม คุ้มทุน บริหารจัดการให้ได้ผลดี เรียกว่า “หาเป็น” 2) อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วย การรักษา คือ รู้จักคุ้มครอง รักษาโภคทรัพย์และผลงานที่ได้ทำไว้ด้วยความขยัน หมั่นเพียรโดยชอบธรรม ด้วยกำลังงานของตน เรียกว่า “เก็บเป็น” 3) กัลยาณมิตตตา คบหาคนดีเป็นมิตร เลือกเสวนาศึกษาเยี่ยงอย่างท่านผู้รู้ ผู้ทรงคุณ ผู้มีความสามารถ ผู้น่าเคารพนับถือ และมีคุณสมบัติเกื้อกูลแก่อาชีพ การงาน หรือเรียกว่า “สร้างเครือข่ายคนดีเป็น” 4) สมชีวิตา ดำเนินชีวิตที่เหมาะสม เลี้ยงชีวิตแต่พอดี คือ รู้จักกำหนดรายได้และรายจ่าย เป็นอยู่พอดีสมรายได้ มิให้ฝืดเคืองหรือฟุ่มเฟือย ให้รายได้เหนือรายจ่าย มีประหยัดเก็บไว้ หรือเรียกว่า “ใช้เป็น” บูรณาการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา ทั้ง 4 ด้าน พบว่าได้ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ข้อที่ว่าด้วย ก. อุฏฐานสัมปทา (ความขยันหมั่นเพียร) เกษตรกรต้องรู้จักการใช้ประโยชน์จากที่ดินให้คุ้มค่ามากที่สุด ต้องรู้จักในการปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูลกาล ข. อารัก ขสัมปทา(รักษาไว้) ได้แก่การดูแลรักษาผลผลิตให้มีคุณภาพมาตรฐาน และการรวมกลุ่มกันขึ้นในรูปสหกรณ์ เพื่อกำหนดราคาที่เหมาะสมยุติธรรมกับผู้ผลิตและผู้บริโภค ค. กัลป์ยาณมิตตตา (มีเพื่อนที่ดี) เกษตรกรควรร่วมมือกันในหลาย ๆ ด้าน การรวมกลุ่มการจัดตั้งสหกรณ์ เพื่อผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยการสร้างเครือข่ายทางสังคม ง.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญา 3) เพื่อบูรณาการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา และ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่ เรื่อง รูปแบบการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ พระสงฆ์/นักวิชาการเกษตร ในเขตจังหวัดตรัง จำนวน 19 รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรัง ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ก. สภาพปัญหากรรมสิทธิ์ในที่ดิน เกษตรกรบางรายมีที่ดินทำกิน แต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือเช่าที่ดินผู้อื่น ทำให้ต้องบุกรุกใช้ประโยชน์ที่ดินรกร้างว่างเปล่าของรัฐหรือเขตป่าสงวนแห่งชาติ ข. สภาพปัญหาราคาสินค้าเกษตรตก ต่ำ เกิดจากเกษตรกรนิยมปลูกพืชชนิดเดียวกันและผลผลิตออกพร้อมกัน แล้วหันไปปลูกพืชที่มีราคาสูงในปีถัดไป ค. สภาพปัญหาการขาดนวัตกรรมใหม่ ๆ เกษตรกรพึ่งพาเทคโนโลยีในการผลิตทุกขั้น ตอนมากเกินไป ไม่คุ้มทุน ทำให้มีหนี้สินเพิ่มมากขึ้น ง. สภาพปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ได้แก่ ปัญหาด้านป่าไม้ ปัญหาด้านดิน ปัญหาการใช้ที่ดิน ปัญหาการบุกรุกพื้นที่สาธารณประโยชน์ ปัญหาขยะมูลฝอย ปัญหาการกาจัดสิ่งปฏิกูล ปัญหาอากาศเสีย ปัญหาน้ำเสียและปัญหาเสียงรบกวน หลักพุทธปรัชญาในการแก้ปัญหาของเกษตรกรจังหวัดตรัง 1) อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น คือ ขยันหมั่นเพียร ฝึกฝนให้มีความชำนาญและรู้จริง รู้จักใช้ปัญญาสอดส่อง ตรวจตรา หาวิธีการที่เหมาะสม คุ้มทุน บริหารจัดการให้ได้ผลดี เรียกว่า “หาเป็น” 2) อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วย การรักษา คือ รู้จักคุ้มครอง รักษาโภคทรัพย์และผลงานที่ได้ทำไว้ด้วยความขยัน หมั่นเพียรโดยชอบธรรม ด้วยกำลังงานของตน เรียกว่า “เก็บเป็น” 3) กัลยาณมิตตตา คบหาคนดีเป็นมิตร เลือกเสวนาศึกษาเยี่ยงอย่างท่านผู้รู้ ผู้ทรงคุณ ผู้มีความสามารถ ผู้น่าเคารพนับถือ และมีคุณสมบัติเกื้อกูลแก่อาชีพ การงาน หรือเรียกว่า “สร้างเครือข่ายคนดีเป็น” 4) สมชีวิตา ดำเนินชีวิตที่เหมาะสม เลี้ยงชีวิตแต่พอดี คือ รู้จักกำหนดรายได้และรายจ่าย เป็นอยู่พอดีสมรายได้ มิให้ฝืดเคืองหรือฟุ่มเฟือย ให้รายได้เหนือรายจ่าย มีประหยัดเก็บไว้ หรือเรียกว่า “ใช้เป็น” บูรณาการแก้ปัญหาของเกษตรกรในจังหวัดตรังด้วยหลักพุทธปรัชญา ทั้ง 4 ด้าน พบว่าได้ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ข้อที่ว่าด้วย ก. อุฏฐานสัมปทา (ความขยันหมั่นเพียร) เกษตรกรต้องรู้จักการใช้ประโยชน์จากที่ดินให้คุ้มค่ามากที่สุด ต้องรู้จักในการปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูลกาล ข. อารัก ขสัมปทา(รักษาไว้) ได้แก่การดูแลรักษาผลผลิตให้มีคุณภาพมาตรฐาน และการรวมกลุ่มกันขึ้นในรูปสหกรณ์ เพื่อกำหนดราคาที่เหมาะสมยุติธรรมกับผู้ผลิตและผู้บริโภค ค. กัลป์ยาณมิตตตา (มีเพื่อนที่ดี) เกษตรกรควรร่วมมือกันในหลาย ๆ ด้าน การรวมกลุ่มการจัดตั้งสหกรณ์ เพื่อผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยการสร้างเครือข่ายทางสังคม ง.
สมชีวิตา (ดำเนินชีวิตที่เหมาะสม) เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันในรูปสหกรณ์เพื่อบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพในทุกด้าน เพราะการร่วมมือกันเป็นการสร้างความสามัคคีให้เกิดความเข้มแข็ง นำมาซึ่งความยั่งยืน องค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ สามารถสรุปเป็นรูปแบบการแก้ปัญหาของเกษตรกรด้วยหลักพุทธปรัชญา สรุปเป็น “QMWC MODEL”
The objectives of this dissertation were: 1) to study the state of problems of farmers in Trang province, 2) to study principles of Buddhist philosophy, 3) to integrate the principles of Buddhist philosophy in problem solving of farmers in Trang province, and 4) to propose a new body of knowledge on the problem solving model of farmers in Trang province with the principles of Buddhist philosophy. The data of this documentary qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 19 Buddhist monks and agricultural scholars In Trang province, and then analyzed by content analysis. The research results were found as follows: The state of problems of farmers in Trang province has 4 major aspects; land ownership, falling price of the agricultural produces, the lack of innovative technology, and natural resource degradation. The principles of Buddhist philosophy in solving problems of farmers in Trang province are; 1) Utthanasampada, to be ready with perseverance in diligence, 2) Arakkhasampada, to be able to maintain, protect and preserve wealth, 3) Kalyanamittata, to associate with good companions, and 4) Samajivita, to lead a suitable life with moderation. The principles of Buddhist philosophy integrated in solving problems of farmers in Trang province are the principles of Ditthadhammikattha. In Utthana sampada, the farmers must understand the use of their land the worthiest and plant the crop rotation according to the season. In Arakkhasampada, the farmers have to take care of their produce to meet quality standards and set a reasonable consumers. In Kalyanamittata, the farmers should cooperate with each other and establish a cooperative to strengthen their produce quality, community and social network. In Somajivita, the farmers should live their lives appropriately according to the principles of moderation. The new knowledge in solving the problems of farmers with Buddhist philosophy gained from this research can be concluded into “QMWC MODEL”.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 2) พัฒนารูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 3) นำเสนอรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 4) สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ประชากรคือพยาบาลคลินิกฯ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย ชุดความรู้เรื่องพรหมวิหาร 4 และแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้พรหมวิหาร 4 ของพยาบาลคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลคลินิกฯ ทุกคนแสดงพฤติกรรมการใช้ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การพยาบาลงตามมาตรฐานวิชาชีพ พบพฤติกรรมที่สื่อให้รับรู้ได้ถึงความมีเมตตา กรุณา และอุเบกขาแต่ไม่พบพฤติกรรมที่สื่อถึงมุทิตา โดยสรุปภาพรวมไม่พบพฤติกรรมการใช้หลักธรรม พรหมวิหาร 4 2. พัฒนารูปแบบฯ โดยบูรณาการความรู้จากหลักพุทธธรรม พรหมวิหาร 4 ทฤษฎีทางการพยาบาลเท็นแคร์ริ่ง (Ten Caring) ของ ดร.จีน วัตสัน 3. ได้รูปแบบ คือ KEsPA เป็นการใช้พรหมวิหาร 4 ร่วมกับทฤษฎีเท็นแคร์ริ่งในการดูแลผู้ป่วย พบว่าพยาบาลมีพฤติกรรมเพิ่มขึ้นทั้งในภาพรวมและรายด้านคือ ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.14  0.49 เป็น 4.22  0.48 โดยด้านที่เพิ่มมากที่สุดคือ ด้านเมตตาเพิ่มจาก 4.09  0.48 เป็น 4.22  0.40 สอดคล้องกับการสนทนากลุ่มแบบไม่มีโครงสร้างในผู้ป่วยซึ่งได้แสดงความคิดเห็นว่า พยาบาลมีลักษณะพฤติกรรมสื่อให้รับรู้ได้ถึงความเห็นอกเห็นใจ และให้กำลังใจผู้ป่วยบ่อยครั้งขึ้น 4. องค์ความรู้ที่ได้คือรูปแบบ KEsPA Model การดูแลผู้ป่วยทางใจของพยาบาลคลินิกส่งผลต่อพฤติกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมเรื้อรังที่ปฏิบัติดีขึ้นสอดคล้องกับแผนการรักษาทำให้สามารถประคับประคองผลการตรวจทางร่างกายได้ดีขึ้น คำสำคัญพรหมวิหาร 4 พยาบาลวิชาชีพ ผู้ป่วยทางอายุรกรรมเรื้อรัง
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 2) พัฒนารูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 3) นำเสนอรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 4) สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ประชากรคือพยาบาลคลินิกฯ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย ชุดความรู้เรื่องพรหมวิหาร 4 และแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้พรหมวิหาร 4 ของพยาบาลคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลคลินิกฯ ทุกคนแสดงพฤติกรรมการใช้ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การพยาบาลงตามมาตรฐานวิชาชีพ พบพฤติกรรมที่สื่อให้รับรู้ได้ถึงความมีเมตตา กรุณา และอุเบกขาแต่ไม่พบพฤติกรรมที่สื่อถึงมุทิตา โดยสรุปภาพรวมไม่พบพฤติกรรมการใช้หลักธรรม พรหมวิหาร 4 2. พัฒนารูปแบบฯ โดยบูรณาการความรู้จากหลักพุทธธรรม พรหมวิหาร 4 ทฤษฎีทางการพยาบาลเท็นแคร์ริ่ง (Ten Caring) ของ ดร.จีน วัตสัน 3. ได้รูปแบบ คือ KEsPA เป็นการใช้พรหมวิหาร 4 ร่วมกับทฤษฎีเท็นแคร์ริ่งในการดูแลผู้ป่วย พบว่าพยาบาลมีพฤติกรรมเพิ่มขึ้นทั้งในภาพรวมและรายด้านคือ ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.14  0.49 เป็น 4.22  0.48 โดยด้านที่เพิ่มมากที่สุดคือ ด้านเมตตาเพิ่มจาก 4.09  0.48 เป็น 4.22  0.40 สอดคล้องกับการสนทนากลุ่มแบบไม่มีโครงสร้างในผู้ป่วยซึ่งได้แสดงความคิดเห็นว่า พยาบาลมีลักษณะพฤติกรรมสื่อให้รับรู้ได้ถึงความเห็นอกเห็นใจ และให้กำลังใจผู้ป่วยบ่อยครั้งขึ้น 4. องค์ความรู้ที่ได้คือรูปแบบ KEsPA Model การดูแลผู้ป่วยทางใจของพยาบาลคลินิกส่งผลต่อพฤติกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมเรื้อรังที่ปฏิบัติดีขึ้นสอดคล้องกับแผนการรักษาทำให้สามารถประคับประคองผลการตรวจทางร่างกายได้ดีขึ้น คำสำคัญพรหมวิหาร 4 พยาบาลวิชาชีพ ผู้ป่วยทางอายุรกรรมเรื้อรัง
The objectives of this dissertation were; 1) to study the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, 2) to develop Buddhadham model in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, 3) to present the model in the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, and 4) to create the body of knowledge in the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic. The research method was the quasi experimental research. The experimental instrument consisted of a test paper on Brahmavihara Dhamma and behavioral questionnaire on the application of Brahmavihara Dhamma. The populations used in the study were nurses in Chronic Disease Clinic. The result of the study are found that: 1. All of chronic disease clinic nurses use nursing standard practice, a litille application of Loveing kindness, Compassion, and Equanimity, but not in Sympathetic joy. 2. The development of Buddhadhamma model was based on the principles of Brahmavihara Dhamma and Ten Caring Theory of Jean Watson. 3. The KEsPa model was the result of integration Brahmavihara Dhamma and Ten Caring Theory together. The results were that: the nurses’ behaviors were improved in total and in aspects from 4.14  0.49 to 4.22  0.48. The highest value was in Loving kindness from 4.09  0.48 to 4.22  0.40. This result was related to a group discussion with the patients that the nurses’ behaviors indicated that they were emphatic and encouraged the patients.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เสนอแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้บริหารและรองผู้บริหารสี่ฝ่าย สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 536 คน เครื่องมือที่ในการรวบรวมข้อมูล 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมของตัวแปรที่เกี่ยวกับคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งดัชนีความสอดคล้องที่ค่าเฉลี่ย 0.67-1.00 มีค่าความเชื่อมั้นเท่ากับ 0.923 แบบประเมินที่ใช้รวบรวมข้อมูล ปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory of Initial factor analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ .01 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 41-45 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท ประการณ์ในการทำงานส่วนใหญ่ 10 ปีขึ้นไป องค์ประกอบคุณลักษณะคุณธรรมจริยธรรม พบว่า มี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 2) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 4) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 2. ผลการตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรม สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านที่ 1) คุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 12 ตัวแปร ด้านที่ 2) คุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 4 ตัวแปร ด้านที่ 3) คุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 10 ตัวแปร ด้านที่ 4) คุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 5 ตัวแปร เมื่อทำการวิเคราะห์การทดสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ข้อความทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ในขนาดที่เหมาะสม ความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีนัยสำคัญทางสถิติ 3.
ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เสนอแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้บริหารและรองผู้บริหารสี่ฝ่าย สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 536 คน เครื่องมือที่ในการรวบรวมข้อมูล 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมของตัวแปรที่เกี่ยวกับคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งดัชนีความสอดคล้องที่ค่าเฉลี่ย 0.67-1.00 มีค่าความเชื่อมั้นเท่ากับ 0.923 แบบประเมินที่ใช้รวบรวมข้อมูล ปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory of Initial factor analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ .01 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 41-45 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท ประการณ์ในการทำงานส่วนใหญ่ 10 ปีขึ้นไป องค์ประกอบคุณลักษณะคุณธรรมจริยธรรม พบว่า มี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 2) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 4) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 2. ผลการตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรม สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านที่ 1) คุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 12 ตัวแปร ด้านที่ 2) คุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 4 ตัวแปร ด้านที่ 3) คุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 10 ตัวแปร ด้านที่ 4) คุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 5 ตัวแปร เมื่อทำการวิเคราะห์การทดสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ข้อความทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ในขนาดที่เหมาะสม ความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีนัยสำคัญทางสถิติ 3.
แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 ด้าน 1) ด้านตนเอง ผู้บริหารฯ ต้องกำหนดนโยบายการส่งเสริมอย่างจริงจัง ในรูปของสโลแกน หรือ “สื่อสัญลักษณ์” จัดอบรมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ให้ความสำคัญปัญญาที่รอบรู้ตามเหตุปัจจัยรอบรู้ใน “อริยสัจสี่” และแนะนำให้ความรู้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความปรารถนาดี 2) ด้านสังคม ผู้บริหารฯ จัดสรรทรัพยากรเพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม กับบุคคลในองค์การ สื่อสารสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวกับงานคุณธรรมจริยธรรมจัดทำโครงการเชิงวัฒนธรรมร่วมกับทางศาสนา 3) ด้านเพื่อนร่วมงาน ผู้บริหารฯ ส่งเสริมให้สมาชิกในองค์ร่วมกันคิดร่วมกันสร้างกระบวนการคุณภาพ กำหนดคุณธรรมจริยธรรมหลักใช้ในการดำเนินชีวิตในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง 4) ด้านองค์การ ผู้บริหารฯ ปฏิบัติตนตามหลักกัลยาณธรรมช่วยเหลือเกื้อกูลให้ผู้อื่นมีความสุข สามารถติดต่อสื่อสารการมีส่วนร่วม เอาใจใส่ไม่ทอดธุระในคำพูดต่อการประกอบกิจกรรมต่างๆ ปฏิบัติกิจที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมตามสมควรตามสถานการณ์โดยไม่หวังผลตอบแทน
This thesis intended for 1) Study, analyze and determine the elements of moral and ethical characteristics of educational institution administrators. in Bangkok 2) To examine the survey on the composition of moral and ethical characteristics of educational institution administrators in Bangkok 3) Propose guidelines to promote moral and ethical characteristics of educational institution administrators in Bangkok using mixed research methodology (Mixed Methods Research) is a combination of qualitative research methods and quantitative research methods (Quantitative Research) The samples used in the research Executives and four deputy executives in Bangkok, 536 people Tools for collecting information 1) Qualified interview form 2) An opinion questionnaire on the behavior of the variables related to moral and ethical characteristics of the school administrators. The mean consistency index of 0.67-1.00 has a confidence value of 0.923. The assessment form used to collect data, year 2019. Statistics used for data analysis, frequency (Frequency), percentage (Percentage), Standard Deviation (SD), Exploratory of Initial factor analysis, and Content Analysis using the software package. Statistics .01 The results of the research found that Results of a study on morality and ethics of educational institution administrators in the Bangkok Metropolitan Administration found that the respondents mostly female Most of the ages ranged from 41-45 years. Most of the education levels are master's degrees. Most of the work experience is 10 years or more. The composition of moral and ethical attributes found that there were 4 aspects, 1) morality and ethics towards oneself 2) morality and ethics towards society 3) morality and ethics towards colleagues 4) morality and ethics towards organizations 2. The results of an exploratory examination of the composition of moral and ethical attributes in Bangkok Metropolitan Administration found that 1) Moral and ethics towards oneself, 12 variables, aspect 2) Moral and ethics towards society, 4 variables, 3) Morality and ethics towards colleagues, 10 variables, 4) Morality and ethics towards the organization, 5 variables. When analyzing the experiments with the empirical data, it was found that every component of the statement correlated at an appropriate size. Model congruence with empirical data statistically significant 3. Guidelines for promoting moral and ethical characteristics of educational institution administrators consist of 4 aspects 1) On their own, the executives must seriously formulate the promotion policy. In the form of a slogan or “symbol media” organized moral and ethical training in educational institutions Give importance to wisdom that is wise according to the factors of knowledge in the "Four Noble Truths" and recommend knowledge to help others with good intentions. 2) On social aspect, the management allocates resources for the participation process. with people in the organization Communicate relationships with external agencies regarding moral and ethical work, create cultural projects in conjunction with religion. 3) Colleagues, executives encourage members of the organization to think together to create a quality process. Determine the principles of morality and ethics to use in life in the changing era 4) As for the organization, the executives act according to the principles of good morals, helping and helping others to be happy. can communicate participation Pay attention not to entrust in words to the activities Carry out activities that are beneficial to the community and society as appropriate under the circumstances without expecting any compensation.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาบุคลิกภาพ 2) เพื่อศึกษาหลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 ท่านและได้นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์อภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงออกตามบทบาทหน้าที่และสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เป็นการพัฒนาองค์รวมของการแสดงออกทางอิริยาบทที่สัมพันธ์กับบุคคลสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของบรรพชิต ตามสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้พระสงฆ์ปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแนวทางปฏิบัติที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมให้เจริญขึ้น โดยมีความเมตตาเป็นฐาน เป็นลักษณะของพระสงฆ์ที่ทำให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสของประชาชน การบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร เป็นการนำเอาหลักการพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดทฤษฎีตะวันตกและนักวิชาการชาวไทยบูรณาการกับหลักการพัฒนาบุคลิกภาพทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมเพื่อนำมาเป็นแนวทางพัฒนาบุคลิกภาพ 4 ด้าน คือ 1) ทางกาย 2) ทางวาจา 3) ทางอารมณ์ และ 4) ทางสังคม รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร ได้องค์ความรู้คือ LOTUS MODEL
ดุษฎีนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาบุคลิกภาพ 2) เพื่อศึกษาหลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 ท่านและได้นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์อภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงออกตามบทบาทหน้าที่และสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เป็นการพัฒนาองค์รวมของการแสดงออกทางอิริยาบทที่สัมพันธ์กับบุคคลสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของบรรพชิต ตามสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้พระสงฆ์ปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแนวทางปฏิบัติที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมให้เจริญขึ้น โดยมีความเมตตาเป็นฐาน เป็นลักษณะของพระสงฆ์ที่ทำให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสของประชาชน การบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร เป็นการนำเอาหลักการพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดทฤษฎีตะวันตกและนักวิชาการชาวไทยบูรณาการกับหลักการพัฒนาบุคลิกภาพทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมเพื่อนำมาเป็นแนวทางพัฒนาบุคลิกภาพ 4 ด้าน คือ 1) ทางกาย 2) ทางวาจา 3) ทางอารมณ์ และ 4) ทางสังคม รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร ได้องค์ความรู้คือ LOTUS MODEL
The objectives of this dissertation were: 1) to study personality development, 2) to study Abhisamācāra principles in Buddhism, 3) to integrate the personality development with Abhisamācāra, and 4) to propose a body of knowledge on “A model of personality development integration with Abhisamācāra”. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, documents, research works and in-depth interviews with 14 experts. The data were analyzed and then presented in a descriptive method. The results of the study were found that: Personality development is a process in adjusting human behaviours suitable to their role, duty, situation, and space and time. It is a holistic development of gestures and manners relating to person, environment and culture. Abhisamācāra in Buddhism is a personality development of monks based on the codes on conduct set forth by the Lord Buddha in order that the order of monks can live together happily and peacefully. It is the guideline of practice supporting and cultivating the advantage of virtues based on loving-kindness and it help create trust and belief among people on Buddhist monks. The integration of personality development with Abhisamācāra is to integrate the concepts and theories of personality development of western scholars and eastern scholars with personality development principles in Buddhism in order to obtain a suitable personality development model in 4 aspects; 1) Physical development, 2) Verbal development, 3) Emotional development, and 4) Social development. The body of knowledge in the integration of personality development with Abhisamācāra obtained from the study can be concluded into “LOTUS MODEL”.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) สร้างและประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัย 420 รูป/คน สัมภาษณ์ 5 รูป/คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 9 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบสหสัมพันธ์แบบลำดับที่สำหรับความสอดคล้องกันในการตัดสินใจพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า: 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของโมเดลพบว่า χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI=0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048 และโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) และมีค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : C.R.) เท่ากับ 0.988 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. คู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) สร้างและประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัย 420 รูป/คน สัมภาษณ์ 5 รูป/คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 9 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบสหสัมพันธ์แบบลำดับที่สำหรับความสอดคล้องกันในการตัดสินใจพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า: 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของโมเดลพบว่า χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI=0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048 และโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) และมีค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : C.R.) เท่ากับ 0.988 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. คู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
The objectives of this dissertation were as follows 1) to study the factors and indicators of the Buddhist integrated model of administration towards excellence of Mahamakut Buddhist University, 2) test the adequacy of the model against the empirical data and construct, 3) create and assess the operation manual of the said model. The samples were totally 420 in number, together with 5 interviews and 9 consults. The rating scale questionnaire was employed for data collection, interview form and the test form was implemented for testing the factors and indicators. The statistical devices such as percentage, mean and standard deviation were used for data analysis, and for reliability and validity of the data, the exploratory, confirmatory, and ordinal correlation analyses for testing consistence in multi-lateral decision were also practiced. The results of research were found that: 1. The factors and indicators of the Buddhist integrated model of administration towards excellence of Mahamakut Buddhist University comprised 4 factors and 20 indicators. 2. The test of consistency of the model displayed χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI = 0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048, and the structural validity and reliability existed (C.R.) at 0.988 exceeding 0.60, that featured the consistency with the empirical data. 3. The operation manual of the said model was found to show its usability at the ‘MUCH’ level.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the development of quotient potential of the youths, 2) to study the principles of Ānāpānasati in Buddhism, 3) to integrate the development of quotient potential of the youths with Ānāpānasati in Buddhism, and 4) to propose guidelines in building new knowledge regarding “the Model of integrating Quotient Potential Development of the Youths by Ānāpānasati”. The data of this documentary qualitative research were collected from academic works, the Tipittaka, Commentaries, and indepth interviews with 12 experts. The results of the study indicated that: 1.The development of quotient potential of the youths consists of developing in Moral Quotient (MQ) and Adversity Quotient (AQ) 2.Ānāpānasati in Buddhism refers to concentration on mindful breathing to calm the mind for phenomenon consideration. 3.Integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism is to allow the youths to practice ānāpānasati until their mind is calm enough. Then the Moral Quotient (MQ) on honesty, discipline and kindness and Adversity Quotient (AQ) on self-control, responsibility for problems, situation assessment and how to respond to problems are taught to them. Finally, let them consider advantages and disadvantages of problems based on Ānāpānasati principles. The youths do it continuously under the supervision and guidelines of adults. 4.The guidelines and body of knowledge about integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism can be summarized into a “TDRAMA Model”.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน” นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมส่งเสริมการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร มีการสัมภาษณ์เชิงลึกพุทธศาสนิกชนผู้มีความรู้ด้านพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๖ รูป/คน และจัดเสวนากลุ่มย่อย จำนวน ๖ รูป/คน โดยนำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปอภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาพการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันประกอบด้วย พระภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา ในปัจจุบันส่วนหนึ่งยังขาดการพัฒนา การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหน้าที่ของพุทธศาสนิกชนที่แท้จริง การทำหน้าที่ ๔ ด้านยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร คือ ๑) ด้านการศึกษา ๒) ด้านการปฏิบัติ ๓) ด้านการเผยแผ่ และ ๔) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา ถ้าหากพุทธศาสนิกชนไม่ตระหนักในเรื่องนี้ อาจส่งผลถึงการดำรงอยู่ของพระพุทธศาสนาในอนาคตได้หลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน พบว่า ๑) ด้านการศึกษา ใช้หลักปัญญา ๓ ๒) ด้านการปฏิบัติใช้หลัก หิริ โอตตัปปะ ๓) ด้านการเผยแผ่ ใช้หลัก สัปปุริสธรรม ๗ และ อัตถะ ๓ และ ๔) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา ใช้หลักมรรคมีองค ๘ และ อริยสัจจ ๔ การบูรณาการการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม สรุปได้ว่าการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน มี ๓ แนวทางคือ ๑) การปรับทัศนคติพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันให้ตระหนักรู้ถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของความเป็นพุทธศาสนิกชนไทย ๒) การให้พุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันได้ลงมือปฏิบัติหน้าที่อย่างอย่างสมบูรณ์จริงจังให้ครบทุกด้าน และ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันอย่างเป็นรูปธรรมและจริงจังองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม” ได้แก่ “MAN MODEL”
ดุษฎีนิพนธ์ เรื่อง “การพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน” นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมส่งเสริมการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน ๓) เพื่อบูรณาการการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม ๔) เพื่อนำเสนอแนวทางการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร มีการสัมภาษณ์เชิงลึกพุทธศาสนิกชนผู้มีความรู้ด้านพระพุทธศาสนา จำนวน ๑๖ รูป/คน และจัดเสวนากลุ่มย่อย จำนวน ๖ รูป/คน โดยนำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปอภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาพการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันประกอบด้วย พระภิกษุ อุบาสก อุบาสิกา ในปัจจุบันส่วนหนึ่งยังขาดการพัฒนา การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามหน้าที่ของพุทธศาสนิกชนที่แท้จริง การทำหน้าที่ ๔ ด้านยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร คือ ๑) ด้านการศึกษา ๒) ด้านการปฏิบัติ ๓) ด้านการเผยแผ่ และ ๔) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา ถ้าหากพุทธศาสนิกชนไม่ตระหนักในเรื่องนี้ อาจส่งผลถึงการดำรงอยู่ของพระพุทธศาสนาในอนาคตได้หลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน พบว่า ๑) ด้านการศึกษา ใช้หลักปัญญา ๓ ๒) ด้านการปฏิบัติใช้หลัก หิริ โอตตัปปะ ๓) ด้านการเผยแผ่ ใช้หลัก สัปปุริสธรรม ๗ และ อัตถะ ๓ และ ๔) ด้านการปกป้องพระพุทธศาสนา ใช้หลักมรรคมีองค ๘ และ อริยสัจจ ๔ การบูรณาการการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม สรุปได้ว่าการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบัน มี ๓ แนวทางคือ ๑) การปรับทัศนคติพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันให้ตระหนักรู้ถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของความเป็นพุทธศาสนิกชนไทย ๒) การให้พุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันได้ลงมือปฏิบัติหน้าที่อย่างอย่างสมบูรณ์จริงจังให้ครบทุกด้าน และ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันอย่างเป็นรูปธรรมและจริงจังองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการพัฒนาพุทธศาสนิกชนไทยในปัจจุบันด้วยหลักพุทธธรรม” ได้แก่ “MAN MODEL”
The objectives of the dissertation entitled “The Development of Thai Buddhists In the Present” are as follows: 1) to study the development of Thai Buddhists in the present, 2) to study the Buddhist principles supporting the development of Thai Buddhists in the present, 3) to integrate the Buddhist principles in the development of Thai Buddhists in the present, and 4) to propose a guideline on “A model for the development of Thai Buddhists in the present with Buddhist principles”. The data of this documenary qualitative study were collected by in-depth interviews with 16 experts in Buddhism and by focus group discussions with 6 key-informants. The data were analyzed, synthesyzed and then concluded and presented in a descriptive method. The results of the study were found that: In the present state of Thai Buddhists, some monks and lay-Buddhists lacked of development and performing the true duty of Buddhists. The four areas of Buddhist duty are training, practice, propagating and protecting Buddhism are unsatisfying. Without the realization of Buddhists on these duties, the negative effects may occur to the stability of Buddhism in the long run. The Buddhist principles supporting the development of Thai Buddhists in the present are; 1) Wisdom supports the training, 2) Hiri and Ottatappa support the practice, 3) Sappurisadhamma and Attha supports propagation, and 4) The Eightfold Path and The Four Noble Truths support the protection of Buddhism. There are 3 guidelines in the development of Thai Buddhists in the present; 1) To adjust their attitude to realize the true duty of Buddhists, 2) To lead them perform the Buddhist duty actively and effectively, and 3) To encourage and support them to develop seriously and concretely. The body of knowledge obtained from the study on integrative development of Thai Buddhists with Buddhist principles can be concluded into “MAN MODEL”.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555