Search results

4 results in 0.04s

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ของครู สู่การพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักเรียน” โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (R&D) ด้วยแนวคิด พัฒนาครูให้มีความรู้แล้วกระตุ้นให้นำความรู้เหล่านั้นสู่การปฏิบัติก็จะก่อให้เกิดพลัง ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน จากผลการดำเนินงานขั้นตอน R1&D1 ถึง R4&D4 ทำให้ได้คู่มือเพื่อการเรียนรู้ของครู 6 ชุด และคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน 1 ชุด และจากผลการทดลองใช้คู่มือในขั้นตอน R5&D5 กับครู 10 รายและนักเรียน 60 ราย โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองดีไซน์การทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา ในโรงเรียนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คู่มือที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามสมมติฐานการวิจัย คือ ครูมีผลการทดสอบความรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ครูมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการทดสอบความรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการประเมินทักษะการรู้ดิจิทัล หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคู่มือเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการนำไปปฏิบัติของครูประกอบโครงการในโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทุกโรงทั่วประเทศ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังการเรียนรู้ของครู สู่การพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักเรียน” โดยระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (R&D) ด้วยแนวคิด พัฒนาครูให้มีความรู้แล้วกระตุ้นให้นำความรู้เหล่านั้นสู่การปฏิบัติก็จะก่อให้เกิดพลัง ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน จากผลการดำเนินงานขั้นตอน R1&D1 ถึง R4&D4 ทำให้ได้คู่มือเพื่อการเรียนรู้ของครู 6 ชุด และคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน 1 ชุด และจากผลการทดลองใช้คู่มือในขั้นตอน R5&D5 กับครู 10 รายและนักเรียน 60 ราย โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองดีไซน์การทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา ในโรงเรียนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คู่มือที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามสมมติฐานการวิจัย คือ ครูมีผลการทดสอบความรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ครูมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการทดสอบความรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการประเมินทักษะการรู้ดิจิทัล หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคู่มือเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการนำไปปฏิบัติของครูประกอบโครงการในโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทุกโรงทั่วประเทศ
This study aimed at employing Research and Development Methodology (R&D) to create an “Online Program to Empower Teacher Learning to Develop Students’ Digital Literacy Skills,” which was based on the notions that “Knowledge and Action are Power” and “Students are the Ultimate Goal of Any Educational Management.” The study consisted of projects focusing on Teacher learning development and a project, in which teachers could use learning outcomes to help the students to make progress. As a result of the R1 & D1 to R4 & D4 stages, six sets of teacher learning manuals and one workshop manual were created so that the instructors could apply learning outcomes to student development. The results were obtained from experimenting with manuals in the R5 & D5 stage with 10 teachers and 60 students using a one group pre-test/post-test design experimental research in schools that are representative of educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission. It was found that the developed manuals had been effective according to the research hypothesis : 1) the Teachers had test results of learning outcomes that had met the standard criteria of 90/90, 2) the Teachers’ post-test results had been significantly higher than the pre-test results, and 3) the students’ post-test results had been significantly higher than the pre-test results. These factors demonstrated that the manuals for learning and implementation for the teachers in the developed online program had been effective and could be disseminated across the country for the benefit of the population of educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่ การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักเรียน โดยระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ด้วยแนวคิด “พัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู แล้วครูนำผลการเรียนรู้ ไปพัฒนานักเรียน” ประกอบด้วยโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน จากผลการดำเนินงานขั้นตอน R1&D1 ถึง R4&D4 ทำให้ได้คู่มือเพื่อการเรียนรู้ของครู 6 ชุด และคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน 1 ชุด และจากผลการทดลองใช้คู่มือในขั้นตอน R5&D5 กับครู 157 รายและนักเรียน 2,613 ราย โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองดีไซน์การทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา ในโรงเรียนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คู่มือที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามสมมติฐานการวิจัย คือ ครูมีผลการทดสอบความรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ครูมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการทดสอบความรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการประเมินทักษะการรู้สารสนเทศหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคู่มือเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการนำไปปฏิบัติของครูประกอบโครงการในโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทุกโรงทั่วประเทศ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่ การพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศของนักเรียน โดยระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ด้วยแนวคิด “พัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู แล้วครูนำผลการเรียนรู้ ไปพัฒนานักเรียน” ประกอบด้วยโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู และโครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน จากผลการดำเนินงานขั้นตอน R1&D1 ถึง R4&D4 ทำให้ได้คู่มือเพื่อการเรียนรู้ของครู 6 ชุด และคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน 1 ชุด และจากผลการทดลองใช้คู่มือในขั้นตอน R5&D5 กับครู 157 รายและนักเรียน 2,613 ราย โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองดีไซน์การทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา ในโรงเรียนที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คู่มือที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามสมมติฐานการวิจัย คือ ครูมีผลการทดสอบความรู้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ครูมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการทดสอบความรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากผลการประเมินทักษะการรู้สารสนเทศหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคู่มือเพื่อการเรียนรู้และเพื่อการนำไปปฏิบัติของครูประกอบโครงการในโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์กับประชากรที่เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทุกโรงทั่วประเทศ
“Online Program to Enhance Teacher Learning to Develop Students' Information Literacy Skills” was an expected result from Research and Development implementation under the concept of “It begins with teacher learning development. Teachers then incorporate the learning outcomes into student development.” First, as a result of implementing the R1&D1 to R4&D4 process, six sets of Teacher Learning Manuals and one Teacher Workshop Manual for Implementing the Learning Outcomes in Student Development have been created. Then, in the R5&D5 phase, the manuals were tested with 157 teachers and 2,613 students using a one-group pretest-posttest experimental model in the school affiliated with the Office of the Basic Education Commission. The experiment results revealed that the teachers’ scores on the post-experimental test met the standard of 90/90, and the mean scores were statistically significantly higher than the pre-experimental test. Furthermore, the findings in implementing teacher’s learning outcomes in student development illustrated that their post-experimental mean score in the Information Literacy Skills assessment was statistically significantly higher than the pre-experimental score. Taken together, these findings confirmed that the developed online program was proven to be effective according to the established research hypotheses. Moreover, the study results also demonstrated that the developed online program could be distributed to schools under the Office of the Basic Education Commission.
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ด้วยแนวคิด “พัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู แล้วครูนำผลการเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียน” ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ครูเกี่ยวกับทักษะความร่วมมือ และ 2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือ ให้กับนักเรียน โครงการแรกมีคู่มือเพื่อใช้พัฒนาครูด้วยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง 6 ชุด คือ คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยาม ความสำคัญ ลักษณะ แนวการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา และการประเมินทักษะความร่วมมือ โครงการที่สองมีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อเป็นแนวทางให้ครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน ผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์ ดังกล่าวในโรงเรียนปริยัติธรรมที่กำหนดเป็นพื้นที่ทดลอง พบว่า หลังการพัฒนาครูตามโครงการแรก ครูมีผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และหลังการพัฒนานักเรียนตามโครงการที่สอง นักเรียนมีผลการประเมินทักษะความร่วมมือ หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่าโปรแกรมออนไลน์ ที่ถือว่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยนี้มีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อใช้กับโรงเรียนปริยัติธรรมแห่งอื่นได้
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมพลังความรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะความร่วมมือของนักเรียน โดยผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ด้วยแนวคิด “พัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของครู แล้วครูนำผลการเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียน” ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ครูเกี่ยวกับทักษะความร่วมมือ และ 2) โครงการครูนำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะความร่วมมือ ให้กับนักเรียน โครงการแรกมีคู่มือเพื่อใช้พัฒนาครูด้วยหลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง 6 ชุด คือ คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยาม ความสำคัญ ลักษณะ แนวการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา และการประเมินทักษะความร่วมมือ โครงการที่สองมีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อเป็นแนวทางให้ครูนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักเรียน ผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์ ดังกล่าวในโรงเรียนปริยัติธรรมที่กำหนดเป็นพื้นที่ทดลอง พบว่า หลังการพัฒนาครูตามโครงการแรก ครูมีผลการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และมีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และหลังการพัฒนานักเรียนตามโครงการที่สอง นักเรียนมีผลการประเมินทักษะความร่วมมือ หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่าโปรแกรมออนไลน์ ที่ถือว่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาจากการวิจัยนี้มีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อใช้กับโรงเรียนปริยัติธรรมแห่งอื่นได้
This research aims to develop and implement an online program to empower teachers’ knowledge in students’ collaborative skills development using Research and Development (R&D) methodology. It is based on the concept of “Develop teacher’s learning, and implement the outcomes into student development”. It consists of two projects as follows: 1) Collaborative skills learning for the teacher development project, and 2) Implementing teacher’s collaborative skills learning outcomes with a student project. The first project includes a set of six-manual for teacher development, including definition, importance, characteristics, development approaches, development steps, and evaluation of collaborative skills manuals. The second project comes with the workshop manual for implementing the teacher’s learning outcomes in student development. The online program was examined in a Pariyattidhamma School selected as a research site. The findings reveal that after completing the first teacher development project, the teachers had learning outcomes according to the standard of 90/90. In addition, learning outcomes after the development project were statistically significantly higher than attending the project. Moreover, after the second project, the students’ collaborative skills assessment results were statistically significantly higher than before. Therefore, the online program produced in this study is an educational innovation that is effective and should be beneficial for other Pariyattidhamma schools’ learning.
หนังสือ

    งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการ เรียนรู้แบบชี้นำตนเองของนักเรียน” ใช้แนวคิดที่ว่า “พัฒนาครู แล้วครูพัฒนานักเรียน” ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (R&D) เป็นโปรแกรมออนไลน์ที่ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาครู มีคู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของครู 6 ชุด และ 2) โครงการครูพัฒนานักเรียน มีคู่มือเชิงปฏิบัติการ 1 ชุด จากผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์กับครู 25 รายและนักเรียน 146 รายในโรงเรียนที่สุ่มให้เป็นตัวแทนของโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พบว่า โปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ คือ เมื่อนำไปทดลองใช้แล้วส่งผลให้ครูมีคะแนนจากการทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนนักเรียนก็มีผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นำตนเอง หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่เป็นประชากรเป้าหมายแห่งอื่นได้
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา “โปรแกรมออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาทักษะการ เรียนรู้แบบชี้นำตนเองของนักเรียน” ใช้แนวคิดที่ว่า “พัฒนาครู แล้วครูพัฒนานักเรียน” ตามแนวคิด “Knowledge + Action = Power” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (R&D) เป็นโปรแกรมออนไลน์ที่ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาครู มีคู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของครู 6 ชุด และ 2) โครงการครูพัฒนานักเรียน มีคู่มือเชิงปฏิบัติการ 1 ชุด จากผลการทดลองใช้โปรแกรมออนไลน์กับครู 25 รายและนักเรียน 146 รายในโรงเรียนที่สุ่มให้เป็นตัวแทนของโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พบว่า โปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ คือ เมื่อนำไปทดลองใช้แล้วส่งผลให้ครูมีคะแนนจากการทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 และสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนนักเรียนก็มีผลการประเมินทักษะการเรียนรู้แบบชี้นำตนเอง หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมออนไลน์ที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมที่เป็นประชากรเป้าหมายแห่งอื่นได้
The objective of this study was to create an “Online Program to Enhance Teacher Learning to Develop Students’ Self-Directed Learning Skills” under the following concepts : “Develop the teacher so that they will develop their students”, “successful teachers, successful students”, and “Knowledge is not power; knowledge plus action equals power.” This study employed the Research and Development (R&D) methodology. The created online program included 1) Teachers’ learning development project with six guidelines, and 2) Teachers develop students project with one action guideline. The created online program was examined with 25 teachers and 146 students in the randomly selected school representing the Pariyattidhamma Schools in the general education section, under National Office of Buddhism. The results validated that the created online program was effective. The findings illustrated that the post-development test for teachers met the standard of 90/90 criteria, and the mean score was statistically significantly higher than before the development. In addition, the students’ mean score on self-directed learning skills assessment after the development was statistically significantly higher than before the development. This indicated that the created online program can be disseminated for educational use in other Pariyattidhamma schools with the similar target population.