Search results

4 results in 0.05s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
The objectives of this research are: 1) to study components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, 2) to create a model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, and 3) to evaluate and to affirm the model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section. The mixed research methodology is used in the study. The data were collected from 732 samples consisting of school directors, vice-directors, and teachers in 199 Phrapariyattidhamma Schools, General Education Section through 5-rating scale questionnaires with reliability at 0.97, semi-structured interviews, and evaluation forms. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and EFA. The results of this research revealed that : 1) The components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, consist of 4 main components, 11 components and 89 variables. 2) The created model is compatible with empirical data at Chi-square Mean/Degree of Freedom (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), The Goodness of Fit Index (GFI), and The Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) in accordance with the decided criteria, main factor score between 0.86-1.01, minor factor score between 0.74-0.97, and the variable score between 0.60-0.84 3) The evaluation results from 17 experts in propriety, accuracy, feasibility, and utility were at 4.41 level overall that was higher.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยครั้งนี้ กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ 3. เพื่อประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี ( Mixed Method Research) ขั้นแรกทำการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคล จากการวิเคราะห์เอกสาร, ตำราที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในสถานศึกษา 5 คน ให้ได้ตัวแปรองค์ประกอบรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสม เพื่อนำมาใช้ในขั้นที่ 2 คือ การสร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สำหรับเก็บข้อมูลความสัมพันธ์ขององค์ประกอบหลักกับองค์ประกอบย่อยของรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้จำนวน 331 คน แล้วจึงทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนประชากรบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติและทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory factor analysis) คัดเลือกตัวแปรที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) มากกว่า 0.5 มาทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่อคัดเลือกตัวแปรในองค์ประกอบย่อย นำมาใช้ยกร่างรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติแล้วนำร่างรูปแบบดังกล่าวไปประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบในขั้นที่ 3 โดยใช้แบบประเมินสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (structure interview) ด้านความถูกต้อง (Accuracy) ความเหมาะสม (Propriety) ความเป็นไปได้ (Feasibility) และความเป็นประโยชน์ (Utility) นำไปสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ, ผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสถานศึกษาทุกระดับชั้น จำนวน 17 คน ผลการวิจัยพบว่า: 1. รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มี 7 องค์ประกอบคือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. การบริหารค่าตอบแทน 4. การให้สวัสดิการ 5. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. การสรรหา 7. การคัดเลือก 2. รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสมสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีค่าความแปรปรวนของตัวแปร (eigenvalues) เท่ากับ 1 ขึ้นไป และองค์ประกอบทั้งหมด สามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมได้เท่ากับร้อยละ 64.130 และเมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การคัดเลือกองค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor loading) ของแต่ละตัวแปร ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป และมีค่าแปรปรวนของตัวแปรมากกว่า 1 แต่ละองค์ประกอบที่มีตัวแปรสังเกตได้ (observed variable) ตั้งแต่ 3 ตัวแปรขึ้นไป พบว่ามีเพียง 7 องค์ประกอบ จำนวน 36 ตัวแปร ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์การคัดเลือกตัวแปรเข้าองค์ประกอบ เมื่อพิจารณาจากค่า Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy (KMO) = .783 (ซึ่งมากกว่า .5 และเข้าสู่ 1) สำหรับค่า Bartlett’s Test of Sphericity = 69045.639 df.= 6623 Sig.=.000 แสดงว่าเมทริกซ์ สหสัมพันธ์ของตัวแปรไม่เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ (identity matrix) หมายความว่าตัวแปรที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อมูลมีความเหมาะสมสามารถใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 3.
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ 3. เพื่อประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี ( Mixed Method Research) ขั้นแรกทำการศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคล จากการวิเคราะห์เอกสาร, ตำราที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในสถานศึกษา 5 คน ให้ได้ตัวแปรองค์ประกอบรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสม เพื่อนำมาใช้ในขั้นที่ 2 คือ การสร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) สำหรับเก็บข้อมูลความสัมพันธ์ขององค์ประกอบหลักกับองค์ประกอบย่อยของรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้จำนวน 331 คน แล้วจึงทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนประชากรบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติและทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory factor analysis) คัดเลือกตัวแปรที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) มากกว่า 0.5 มาทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่อคัดเลือกตัวแปรในองค์ประกอบย่อย นำมาใช้ยกร่างรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติแล้วนำร่างรูปแบบดังกล่าวไปประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบในขั้นที่ 3 โดยใช้แบบประเมินสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (structure interview) ด้านความถูกต้อง (Accuracy) ความเหมาะสม (Propriety) ความเป็นไปได้ (Feasibility) และความเป็นประโยชน์ (Utility) นำไปสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ, ผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสถานศึกษาทุกระดับชั้น จำนวน 17 คน ผลการวิจัยพบว่า: 1. รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มี 7 องค์ประกอบคือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. การบริหารค่าตอบแทน 4. การให้สวัสดิการ 5. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. การสรรหา 7. การคัดเลือก 2. รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสมสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติประกอบด้วยองค์ประกอบที่มีค่าความแปรปรวนของตัวแปร (eigenvalues) เท่ากับ 1 ขึ้นไป และองค์ประกอบทั้งหมด สามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมได้เท่ากับร้อยละ 64.130 และเมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การคัดเลือกองค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor loading) ของแต่ละตัวแปร ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป และมีค่าแปรปรวนของตัวแปรมากกว่า 1 แต่ละองค์ประกอบที่มีตัวแปรสังเกตได้ (observed variable) ตั้งแต่ 3 ตัวแปรขึ้นไป พบว่ามีเพียง 7 องค์ประกอบ จำนวน 36 ตัวแปร ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์การคัดเลือกตัวแปรเข้าองค์ประกอบ เมื่อพิจารณาจากค่า Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy (KMO) = .783 (ซึ่งมากกว่า .5 และเข้าสู่ 1) สำหรับค่า Bartlett’s Test of Sphericity = 69045.639 df.= 6623 Sig.=.000 แสดงว่าเมทริกซ์ สหสัมพันธ์ของตัวแปรไม่เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ (identity matrix) หมายความว่าตัวแปรที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อมูลมีความเหมาะสมสามารถใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 3.
การประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากผู้ทรงคุณวุฒิฯ 17 คน พบว่า รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความถูกต้อง มีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ และมีความเป็นประโยชน์โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้
This research study Defined objectives for 3 reasons. 1. To study the form of human resource management of schools under the Royal Thai Police 2. To develop a model for human resource management of schools under the Royal Thai Police, and 3. To assess, verify, and confirm the forms of human resource management of schools under the Royal Thai Police By using Mixed Method Research The first step is to study the components of the human resource management model. From document analysis, related texts And interviewing 5 experts and experts in human resource management in educational institutions to obtain appropriate variables, human resource management styles To be used in step 2 is to create a rating scale questionnaire For collecting the relationship between the main components and the sub-elements of the human resource management model of schools under the Royal Thai Police By collecting data from sample groups By opening the ready-made tables of Krejcie and Morgan, a total of 331 people, then sampling the landscape based on the proportion of the population of personnel in schools under the Royal Thai Police. And analyze the data with mean and standard deviation After that, the exploratory factor analysis selected the variables with the factor loading greater than 0.5 to analyze the relationship between the variables. To select variables in the sub-composition. To be used to draft the human resource management model of schools under the Royal Thai Police. Then bring the draft of the said form to be evaluated and verified The form in step 3 is to use the structure interview to assess the accuracy propriety feasibility and utility to interview the experts, experts and people who have the knowledge, ability and experience in working in schools at all levels. The results of research were found that: 1. The model of human resource management of the schools under the Royal Thai Police has 7 components which are 1. Human resource planning 2. Human resource development 3. Compensation management 4. Providing welfare 5. Evaluation of performance Jobs 6. Recruitment 7. Selection 2. The model of human resource management suitable for the schools under the Royal Thai Police consists of components with variance values. (eigenvalues) equal to 1 or more and all elements Can describe the cumulative variance equal to 64.130 percent and when considering the selection criteria for the factor loading of each variable from 0.5 or more and the variance of more than one of each element with the observable variable (observed variable) of 3 variables or more, it was found that only 7 elements, 36 variables, met the criteria for qualifying variables. Considering the value Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy (KMO) = .783 (which is greater than. 5 and enters 1) for Bartlett's Test of Sphericity = 69045.639 df. = 6623 Sig. =. 000 indicates that the matrix Correlation of variables is not an identity matrix, meaning that the variables used for elemental analysis are statistically significant. The data is appropriate, the composition analysis can be used. 3. The result of assessment and confirmation of human resource management styles of schools under the Royal Thai Police from 17 experts indicated that the human resource management model of the schools under the Royal Thai Police developed in this study was accurate, appropriate, possible and useful, and its average value was at a high level that could be implemented.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ 2) พัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ หน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย 34 หน่วย ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร และครูผู้สอนในอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย จำนวน 340 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า: 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก 16 องค์ประกอบย่อย 2) ผลการพัฒนาองค์ประกอบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารหน่วยอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย ได้องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 และ RMSEA = 0.000 ได้ 4 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านการธำรงรักษาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) มาตรการดึงดูด พัฒนา รักษาพนักงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.2) การสร้างความพึงพอใจในการทำงาน 1.3) นโยบาย แผนงานและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การฝึกอบรมและพัฒนา 2.2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.3) ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 2.4) การคัดเลือกบุคลากร 2.5) การสรรหาบุคลากร 3) ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 3.2) ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3.3) ความต้องการในการประสบผลสำเร็จในชีวิต 3.4) ความต้องการทางสังคม และ 4) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 4.1) ระดับความมั่นคงขององค์กร 4.2) ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งหรือความเป็นเจ้าของ 4.3) เรื่องราว พิธีการ และพิธีกรรมขององค์กร 4.4) ค่านิยม
The objectives of this research were: 1) to study the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya under Mahachulalongkornrajavidyalaya university, and 2) to develop the components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya. The mixed methods research was used in study. 340 samples consist of administrators, committee, and teachers of 34 schools obtained by were used in the study. The data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis by statistical software. The results of the study were as follows: 1) The components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of 4 main components and 16 subcomponents. 2) The results of the development of components of human resource management of the administrators in Aphidhammachotikavidyalaya consists of the empirical data at χ2/df = 1.952, GFI = 0.951, AGFI = 0.949 and RMSEA = 0.000. Consists of 4 main-components: 1) Preservation, consist of 1.1) Catching), 1.2) Complacence, and 1.3) Policy. 2) Resource, consist of 2.1) Training, 2.2) Evaluation, 2.3) Reward, 2.4) Selection, and 2.5) Recruiting. 3) Motivation, consist of 3.1) Physical, 3.2) Security, 3.3) Success, and 3.4) Social. And 4) Culture, consist of 4.1) Stability, 4.2) Ownership, 4.3) Ceremony, and 4.4) Norm.
หนังสือ