Search results

8 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
TOC:
  • การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัย ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๓) เพื่อบูรณาการการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๔) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร วิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารทางวิชาการ วิเคราะห์หลักพุทธสุนทรียศาสตร์จากพระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๒๐ รูป/คน และนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นยุคอุตสาหกรรม วัตถุนิยม บริโภคนิยม ระบบดิจิตอล และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาทำคุณภาพชีวิตให้ดี แต่การบริโภคไม่ตรงตามจุดประสงค์ที่แท้จริงของเทคโนโลยีย่อมให้โทษ ทำให้เกิดปัญหา ๕ ด้าน คือ จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี เพราะมนุษย์ขาดการพิจารณาตามความเป็นจริงและการคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง พุทธสุนทรียศาสตร์ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าที่ว่าด้วยความงาม มีอยู่ ๒ มิติ คือ ความงามมิติทางโลกและความงามมิติทางธรรม ความงามมิติทางโลกเป็นความงามที่ชาวโลกสมมติขึ้น จัดเป็นจิตพิสัย เพราะเป็นความงามที่เกิดภายใต้อำนาจของกิเลส ส่วนความงามมิติทางธรรมเป็น ความงามจากการปฏิบัติธรรมแสดงออกทางพฤติกรรมทำให้งดงาม จัดเป็นวัตถุพิสัยเพราะเป็นความงามลักษณะอนัตตา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา คือ ขันติ โสรัจจะ ไตรลักษณ์ ทิฏฐธัมมิกัตถะ กัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ หลักธรรมเหล่านี้เป็นพุทธสุนทรียศาสตร์ เมื่อปฏิบัติแล้วย่อมเกิดความงามเป็นผลเสมอ เรียกว่า ชีวิตงาม นำหลักธรรมทั้ง ๕ มาบูรณาการกับปัญหา ๕ ด้าน ทำให้เกิดความงาม คือ ๑) ขันติ โสรัจจะ อดทนอย่างมีสติทำให้จิตใจสงบนิ่ง ไม่ขุ่นมัว เกิดปัญญาเห็นเหตุปัจจัยและโสรัจจะเกิดตามเกื้อกูลทำให้จิตใจงาม ๒) ไตรลักษณ์ การเข้าถึงองค์ความรู้ เห็นตามความเป็นจริงว่าทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลง คลายความยึดมั่น เกิดเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่เห็นแก่ตัวทำให้สังคมงาม ๓) ทิฏฐธัมมิกัตถะ กิจกรรมในชีวิต อยู่ที่การทำงานมากที่สุดจึงต้องสร้างคุณธรรมควบคู่กับงาน ไม่ประมาท ฉลาดในการคบเพื่อน การบริหารเงินถูกต้อง มีการเงินมั่นคงทำให้เศรษฐกิจงาม ๔) กัลยาณมิตร การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการเห็นคุณค่าและช่วยกันอนุรักษ์ เกิดดุลยภาพต่อกัน ทำให้สิ่งแวดล้อมงาม และ ๕) โยนิโสมนสิการ หล่อหลอมเทคโนโลยีกับมนุษย์ด้วยการคิดถูก รู้คุณค่าแท้เป็นความรู้แห่งอารยชน ทำให้เทคโนโลยีงาม จากผลของความงามทั้ง ๕ ทำให้เกิด GRACE MODEL โมเดลแห่งความงดงามแห่งความดี เกิดพฤติกรรม จิตใจ และปัญญางดงาม ด้วยการคิด พูด ทำ ทุกการกระทำเป็นไปอย่างดี จริง และมีประโยชน์ คือ การดำเนินชีวิตที่งดงาม
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 2) เพื่อศึกษาพุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 3) เพื่อบูรณาการการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เรื่อง “การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์” โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก และการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่เคยรับราชการตำรวจ จำนวน 6 คน นักวิชาการผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 6 รูป/คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลนำเสนอ ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ให้ตำรวจมีการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น มีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด มีจริยธรรมตำรวจ และวิธีการเสริมสร้างจริยธรรมตำรวจ ให้มีหลักในการครองตน ด้วยการดำเนินชีวิตอย่างรอบคอบและไม่ประมาท การครองคน ให้ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข การครองงาน ด้วยการปฏิบัติหน้าที่ได้สมบูรณ์และบรรลุเป้าหมาย 2. พุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ได้แก่ หลักเบญจศีล-เบญจธรรม สิ่งที่ควรเว้นและธรรมที่ควรปฏิบัติ หลักสังคหวัตถุ 4 ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน หลักอิทธิบาท 4 คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ 3. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ พบว่า การดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลใช้หลักเบญจศีล-เบญจธรรมในการครองตน ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการครองคน ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการครองงาน โดยบูรณาการกันในการส่งเสริมด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ทั้ง 3 ประการมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “SPJ MODEL” S มาจาก Good Self ครองตนดี ตำรวจสันติบาลจะครองตนที่ดีจะต้องยึดมั่น ทำให้มีความสุขกายสุขใจ P มาจาก S Good People หมายถึง ครองคนดี ตำรวจสันติบาล มีธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หลักการครองใจคน และ J มาจาก Good Job หมายถึง ครองงานดี ตำรวจสันติบาลต้องมีความอดทน ความเพียรพยายาม ความจริงใจต่อประชาชน
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 2) เพื่อศึกษาพุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 3) เพื่อบูรณาการการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เรื่อง “การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์” โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก และการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่เคยรับราชการตำรวจ จำนวน 6 คน นักวิชาการผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 6 รูป/คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลนำเสนอ ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ให้ตำรวจมีการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น มีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด มีจริยธรรมตำรวจ และวิธีการเสริมสร้างจริยธรรมตำรวจ ให้มีหลักในการครองตน ด้วยการดำเนินชีวิตอย่างรอบคอบและไม่ประมาท การครองคน ให้ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข การครองงาน ด้วยการปฏิบัติหน้าที่ได้สมบูรณ์และบรรลุเป้าหมาย 2. พุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ได้แก่ หลักเบญจศีล-เบญจธรรม สิ่งที่ควรเว้นและธรรมที่ควรปฏิบัติ หลักสังคหวัตถุ 4 ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน หลักอิทธิบาท 4 คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ 3. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ พบว่า การดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลใช้หลักเบญจศีล-เบญจธรรมในการครองตน ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการครองคน ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการครองงาน โดยบูรณาการกันในการส่งเสริมด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ทั้ง 3 ประการมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “SPJ MODEL” S มาจาก Good Self ครองตนดี ตำรวจสันติบาลจะครองตนที่ดีจะต้องยึดมั่น ทำให้มีความสุขกายสุขใจ P มาจาก S Good People หมายถึง ครองคนดี ตำรวจสันติบาล มีธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หลักการครองใจคน และ J มาจาก Good Job หมายถึง ครองงานดี ตำรวจสันติบาลต้องมีความอดทน ความเพียรพยายาม ความจริงใจต่อประชาชน
This thesis objectives 1) to study the promotion of life of the special branches 2)to study the Buddhist ethics in the life of the special branch 3)to integrate the promotion of life of the Special Branches using the Buddhist ethics 4) to present new knowledge on “Promoting the life of the special branch with Buddhist ethics” by studying and analyzing the data from the Tripitaka textbooks and related documents are mainly and in-depth interviews A group of experts who had served in the police service consisted of 6 persons, academics with knowledge and expertise in Buddhism, 6 figures/person, totaling 12 persons. The results of the research showed that: 1. Promoting the life of the special branch give the police a better life strict discipline police ethics and how to strengthen police ethics as a tool to guide the performance of duties. To become a peacekeeper or being a policeman of the people. 2. Buddhist ethics in the life of special branch police Benjasila - Benjadhamma Things that should be avoided and Dharma that should be done The principle of Sangahavatthus, Four Foundations for Accomplishment consist of 3. Promoting the life of the special branch police with buddhist ethics found that Buddhist ethics for self-reliance Integration with the Benjasila-Benjadhamma principles Buddhist Ethics for Dominating People Integrating with using the 4 Sangkhahavatthus principles, Buddhist ethics for dominating work Integration with using the principle of IDDHIPᾹDA 4. The new body of knowledge that has been called "SPJ MODEL" S comes from Good Self. Maintaining a good self, the special branch police must adhere to. Makes people happy and happy. P stands for S Good People, which means occupy good people. There is a Dharma that is the location of mutual assistance, the Dharma that binds kindness. The principle of reigning in people's hearts and J from Good Job means occupying a good job. The Special Branch Police must be patient. perseverance sincerity to the people