Search results

27 results in 0.11s

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ ธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 795 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่าเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้คือ 1) ตัวบ่งชี้การวิจัย 60 ตัว มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.23-4.74 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 11.35-15.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดคือเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงมีความเหมาะสมได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.86-1.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.73-1.02 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The data was collected by using the questionnaire for estimation from a sample of the administrators of the Office of Primary Education Area of 795 people which were obtained by multi-stage random sampling.Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypothesis : 1) The 60 indicators used have mean of 4.23-4.74 which meets the specified criteria as mean equal to or higher than 3.00 and the distribution coefficient is between 11.35-15.86. All were selected in the model. 2) Structural relationship model Indicator of Good Governance for Administrators of the Primary Educational Service Area Office, the development from theory and research are consisted of congruence with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI), Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI), were In accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.86-1.06, which is higher than criterion as 0.70 in all major factor. The minor components had factor loading between 0.73-1.02 and the indicator had factor loading ranged from 0.30-1.00, which are higher level than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนวธรรมาภิบาลมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการ ๒. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๓. เพื่อบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๔. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบ การบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ได้แก่ พระสังฆาธิการจำนวน ๔ รูป ผู้บริหารสำนักงานที่ใช้หลักธรรมาภิบาล ๑ คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนาจำนวน ๑๐ รูป/คน เพื่อยืนยันผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบริหารสำนักงานพระสังฆาธิการ พบปัญหาการบริหารมี ๔ ประการ คือ ๑. ปัญหาด้านบุคคลากร เช่น การบริหารงานของพระสงฆ์ที่เป็นผู้ปกครองระดับสูงส่วนมากจะอยู่ในกรุงเทพมหานคร เช่น เจ้าคณะภาคบางรูปไม่ได้สังกัดวัดภายในภาคของตนทำให้การตรวจงานภายในภาคไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพ เพราะเจ้าคณะผู้ปกครองภายในภาคอยู่ในพื้นที่ห่างไกล และไม่มีสำนักงานบริหารที่ถาวร เมื่อเจ้าคณะพ้นสภาพจากความเป็นเจ้าคณะ เอกสารหลักฐานก็ขาดตอน เมื่อ มีเจ้าคณะใหม่ก็เริ่มงานใหม่ การบริหารจึงไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่เป็นระบบ และปัญหาการบริหารงานในส่วนภูมิภาค พบว่าการกระจายอำนาจทำได้เพียงแต่โครงสร้างเท่านั้น ๒. ปัญหางบประมาณ เนื่องจากสำนักงานไม่มีงบประมาณจากภาครัฐทำให้ต้องหางบประมาณดำเนินการเอง ๓. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เป็นปัญหาที่สืบเนืองมาจากงบประมาณทำให้ไม่สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ๔. ปัญหาด้านการจัดการ พบว่า การดำเนินงานของสำนักงานพระสังฆาธิการทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ขาดธรรมาภิบาลทำให้เกิดปัญหาในความเลื่อมใสศรัทธาต่อพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนและปัญหากฎหมายด้านอื่น ๆ การบริหารงานสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล เป็นการบริหารงานในองค์กรที่ประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใสยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และได้ศึกษาตัวอย่างสำนักงานที่ประสบความสำเร็จด้านธรรมาภิบาลเพื่อเป็นตัวอย่างในการนำมาบูรณาการในการแก้ไขปัญหาของสำนักงานพระสังฆาธิการ การบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล พบว่า ๑. ด้านบุคคลากร มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานพระสังฆาธิการ ทำให้มีการบริหารเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้านงบประมาณ สำนักงานมีงบประมาณจากภาครัฐอย่างเพียงพอทำให้ต้องมีการตรวจสอบการใช้จ่ายอย่างโปร่งใส ๓. ด้านวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ๔.
การศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนวธรรมาภิบาลมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการ ๒. เพื่อศึกษาระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๓. เพื่อบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล ๔. เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “ระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบ การบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ได้แก่ พระสังฆาธิการจำนวน ๔ รูป ผู้บริหารสำนักงานที่ใช้หลักธรรมาภิบาล ๑ คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนาจำนวน ๑๐ รูป/คน เพื่อยืนยันผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบริหารสำนักงานพระสังฆาธิการ พบปัญหาการบริหารมี ๔ ประการ คือ ๑. ปัญหาด้านบุคคลากร เช่น การบริหารงานของพระสงฆ์ที่เป็นผู้ปกครองระดับสูงส่วนมากจะอยู่ในกรุงเทพมหานคร เช่น เจ้าคณะภาคบางรูปไม่ได้สังกัดวัดภายในภาคของตนทำให้การตรวจงานภายในภาคไม่สามารถทำได้อย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพ เพราะเจ้าคณะผู้ปกครองภายในภาคอยู่ในพื้นที่ห่างไกล และไม่มีสำนักงานบริหารที่ถาวร เมื่อเจ้าคณะพ้นสภาพจากความเป็นเจ้าคณะ เอกสารหลักฐานก็ขาดตอน เมื่อ มีเจ้าคณะใหม่ก็เริ่มงานใหม่ การบริหารจึงไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่เป็นระบบ และปัญหาการบริหารงานในส่วนภูมิภาค พบว่าการกระจายอำนาจทำได้เพียงแต่โครงสร้างเท่านั้น ๒. ปัญหางบประมาณ เนื่องจากสำนักงานไม่มีงบประมาณจากภาครัฐทำให้ต้องหางบประมาณดำเนินการเอง ๓. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ เป็นปัญหาที่สืบเนืองมาจากงบประมาณทำให้ไม่สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ ๔. ปัญหาด้านการจัดการ พบว่า การดำเนินงานของสำนักงานพระสังฆาธิการทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ขาดธรรมาภิบาลทำให้เกิดปัญหาในความเลื่อมใสศรัทธาต่อพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนและปัญหากฎหมายด้านอื่น ๆ การบริหารงานสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล เป็นการบริหารงานในองค์กรที่ประกอบด้วยหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใสยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ และได้ศึกษาตัวอย่างสำนักงานที่ประสบความสำเร็จด้านธรรมาภิบาลเพื่อเป็นตัวอย่างในการนำมาบูรณาการในการแก้ไขปัญหาของสำนักงานพระสังฆาธิการ การบูรณาการระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาล พบว่า ๑. ด้านบุคคลากร มีกฎหมายจัดตั้งสำนักงานพระสังฆาธิการ ทำให้มีการบริหารเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ๒. ด้านงบประมาณ สำนักงานมีงบประมาณจากภาครัฐอย่างเพียงพอทำให้ต้องมีการตรวจสอบการใช้จ่ายอย่างโปร่งใส ๓. ด้านวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง บริสุทธิ์ ยุติธรรม ๔.
ด้านการจัดการ สำนักงานมีหลักธรรมาภิบาลทั้ง ๖ ด้านทำให้เกิดการบริหารที่ดีเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ผลการวิจัยสามารถสรุปเป็นโมเดลระบบการบริหารจัดการสำนักงานพระสังฆาธิการด้วยระบบการบริหารจัดการสำนักงานตามแนวธรรมาภิบาลที่เรียกว่า MOGA Model ประกอบด้วย M = Management (การบริหารงาน ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. บุคลากร ๒. งบประมาณ ๓. วัสดุอุปกรณ์ ๔. การจัดการ) O = office of Buddhist Ecclesiastical (สำนักงานพระสังฆาธิการ) G = good governance (ธรรมาภิบาล ๖ ด้าน ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า) A = Advantage (ประโยชน์ที่ได้รับจาการบริหารงานสำนักงานพระสังฆาธิการตามแนว ธรรมาภิบาลมี ๒ นัย ได้แก่ นัยที่ ๑ คือ ๑. ประโยชน์ปัจจุบัน ๒. ประโยชน์เบื้องหน้า หรือประโยชน์ในภพหน้า, ๓. ประโยชน์สูงสุด คือ พระนิพพาน นัยที่ ๒ คือ ๑. ประโยชน์ตน ๒. ประโยชน์ผู้อื่น ๓.ประโยชน์ ทั้งสองฝ่าย
The objectives of the study on the management system of Buddhist Ecclesiastical office according to the good governance were; 1) To study the manage- ment system of buddhist ecclesiastical office. 2) To study the management system of office according to the good governance 3) To integrate the management system of the Buddhist ecclesiastical office according to the good governance 4) To propose a guideline and create new knowledge related to management system of the Buddhist ecclesiastical office according to the good governance This research is a qualitative research by using document research methodology and conducting in-depth interview, including 4 abbots, office administrators who use good governance 1 person and experts in Buddhism 10 monks/person to confirm this research results. The results of the study found that: There are 4 main problems of the management system of the Buddhist Ecclesiastical office 1. Personnel problems, such as the administration of monks who are high-level position, most of them live in Bangkok, some of the Lord Abbots of a Buddhist monastery, not belong to his region, may not affiliate with temples within his region, therefore, the inspection is unable to be done thoroughly, and effectively because the guardian within the region is in a remote area And there is no permanent administrative office When the Lord Abbot is retried, the Document evidence is disrupted. Whenever a new Lord Abbot start a new responsibility,: Therefore, management is not continuous and systematic And the administrative problems in the region found that decentralization can only be done in the structure. 2. Money problems due to the office does not have enough from the government sector, making it necessary to find a budget to operate. 3. Material problems due to the constraint budget, making it impossible to get equipment. 4.The management problems of the Buddhist Ecclesiastical Office in the 6 aspects : Administration, Education, Education welfare, Dissemination, Infrastructure, Public welfare, found that the lack of good governance, then make resulting in problems of faith in Buddhism and other legal issues. The management system of office according to good governance is the management of the organization which consists of the rule of law, morality, transparency, participation, responsibility, value for money make the organization strong, efficient, effective, transparent, fair and can be inspected. And also studied the successful office of good governance in order to be an example in the integration of the problems of the Buddhist Ecclesiastical office. The integration of the management system of the Office of the Buddhist Ecclesiastical with the office management system in accordance with the good governance found that: 1. Personnel, there is a law to establish the Buddhist Ecclesiastical Office will make management systematic and continuous 2. Money The office has sufficient budget from the government, which requires transparent examination of spending. 3. Materials and equipment can be purchased by correctly and fairly. 4. Management The Office 6 Principles of good government to ensure it internationally accepted performance. From the results of the research, it can be summarized as a model of the management system of the Buddhist Ecclesiastical Office according to the good governmance which called MOGA model M = Management, (1. Personnel, 2. Budget, 3. Materials, equipment 4. Manage- ment) O = Office of Buddhist Ecclesiastical G = Good governance, A = Advantage (2 aspects: 1. current benefits, benefits in the future, the greatest benefit is Nirvana and 2. Gain for Oneself, Gain for others, Gain both)
หนังสือ

    การศึกษาการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2) ศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา 3) บูรณาการการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม และ 4) นำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม” วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ในการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่าย จำนวน 63 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความแตกต่างใช้สถิติ Independent t-test ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่ายและไม่เสพติดซ้ำ จำนวน 15 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และทีมสหวิชาชีพที่ให้การฟื้นฟูฯ จำนวน 13 คน ใช้แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง ในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์มีหลากหลายรูปแบบและมีการนำหลักธรรมทางพุทธศาสนามาปรับใช้ในการฟื้นฟูฯ รวมทั้งนำหลักฆราวาสธรรมมาปรับใช้การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2. หลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เป็นธรรมสำหรับฆราวาสที่ใช้ในการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน 3. บูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เสพติดซ้ำมีคะแนนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม 4 และข้อธรรมย่อยสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เสพติดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 แสดงว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสพติดซ้ำสามารถปฏิบัติตามฆราวาสธรรมและมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางดี และการปฏิบัติตามหลักฆราวาสธรรมเพื่อดูแลตนเองไม่ให้เสพติดซ้ำต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ข่มใจ อดทนกับความรู้สึกอยากดื่มและละวางความรู้สึกที่ไม่ดีต่าง ๆ นั้นได้ จะต้องมีสติคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ควบคุมตนและการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว โดยมีการบูรณาการหลักฆราวาสธรรมสอดแทรกในกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ จึงทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่รูปแบบบูรณาการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม คือ SCB-SA-SC-SD Model หมายถึง การดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ควรได้รับการสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เจ้าหน้าที่และเพื่อนผู้ป่วย ให้การช่วยเหลือปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมผู้ป่วยให้ดีขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์รู้จักตนหรือมีสติ/สมาธิ ควบคุมตนเองได้หรือมีศีล และการพัฒนาตนหรือมีปัญญา จึงช่วยให้เลิกดื่มแอลกอฮอล์ได้นานขึ้น
การศึกษาการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2) ศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา 3) บูรณาการการดำเนินกิจกรรมในการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม และ 4) นำเสนอแนวทางและองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯ ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยหลักฆราวาสธรรม” วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ในการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่าย จำนวน 63 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและเปรียบเทียบความแตกต่างใช้สถิติ Independent t-test ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ที่เคยผ่านการฟื้นฟูฯได้รับการติดตามผลการรักษา 3 เดือนหลังจำหน่ายและไม่เสพติดซ้ำ จำนวน 15 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และทีมสหวิชาชีพที่ให้การฟื้นฟูฯ จำนวน 13 คน ใช้แบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง ในการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์มีหลากหลายรูปแบบและมีการนำหลักธรรมทางพุทธศาสนามาปรับใช้ในการฟื้นฟูฯ รวมทั้งนำหลักฆราวาสธรรมมาปรับใช้การดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ 2. หลักฆราวาสธรรมในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เป็นธรรมสำหรับฆราวาสที่ใช้ในการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกัน 3. บูรณาการการดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เสพติดซ้ำมีคะแนนการปฏิบัติตนตามหลักฆราวาสธรรม 4 และข้อธรรมย่อยสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เสพติดซ้ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 แสดงว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่เสพติดซ้ำสามารถปฏิบัติตามฆราวาสธรรมและมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางดี และการปฏิบัติตามหลักฆราวาสธรรมเพื่อดูแลตนเองไม่ให้เสพติดซ้ำต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ข่มใจ อดทนกับความรู้สึกอยากดื่มและละวางความรู้สึกที่ไม่ดีต่าง ๆ นั้นได้ จะต้องมีสติคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ควบคุมตนและการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว โดยมีการบูรณาการหลักฆราวาสธรรมสอดแทรกในกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ จึงทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่รูปแบบบูรณาการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ด้วยฆราวาสธรรม คือ SCB-SA-SC-SD Model หมายถึง การดำเนินกิจกรรมการฟื้นฟูฯผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์ควรได้รับการสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว เจ้าหน้าที่และเพื่อนผู้ป่วย ให้การช่วยเหลือปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมผู้ป่วยให้ดีขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยติดแอลกอฮอล์รู้จักตนหรือมีสติ/สมาธิ ควบคุมตนเองได้หรือมีศีล และการพัฒนาตนหรือมีปัญญา จึงช่วยให้เลิกดื่มแอลกอฮอล์ได้นานขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence, 2) to study Gharâvâsadhamma in Buddhism, 3. to integrate activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence with Gharâvâsadhamma, and 4) to propose guidance and knowledge about " a model of a proceeding activities in rehabilitation therapy for alcoholic dependence integrated with Gharâvâsadhamma.” The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 63 samples that had undergone rehabilitation follow up the treatment for 3 months after discharge. The quantitative data were analyzed by descriptive statistics and comparing differences used Independent t-test. The qualitative data were obtained by in-depth interviews with 15 alcoholic dependence patients, who had undergone rehabilitation with 3-month follow-up treatments after discharge and not being addicted, and with 13 key informants in multidisciplinary teams at the rehabilitation by unstructured interviews. The data were analyzed by inductive analysis. The results of the research were follows 1. the implementation of rehabilitation activities for alcoholic dependence patients has a variety of forms and Buddhist principles are applied to the rehabilitation, 2. Gharâvâsadhamma in Buddhism is for lay-people to live together, and 3. the implement of rehabilitation activities integrated with Gharâvâsadhamma for patients with alcohol dependence indicated that the non-addicted sample group had a score of overall practice of Gharâvâsadhamma significantly higher than the relapse alcohol sample at the level of 0.05. This result revealed that non- relapse patients could follow Gharâvâsadhamma and have behavioral change positively. To follow Gharâvâsadhamma for self-care and non-relapse was based on intention, commitment, and tolerance to alcohol withdrawal symptoms. To escape from a bad feeling, the patients must depend on conscious thinking, reasonable consideration, self-control and family support. The rehabilitation activities for alcoholic dependence patients integrated with the Gharâvâsadhamma could be concluded into “SCB-SA-SC-SD Model”. The activities of rehabilitation for alcoholic dependence patients must be supported by society, family, staff, and fellow patients. All that could help change the patients’ cognition and behaviors into a positive way and assist them to have self-awareness or mindfulness and concentration, self-control or precepts and self-development or wisdom, and to help them quit drinking alcohol in a longer time.
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the Fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 27,718 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 610 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses : 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.84 to 1.70, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.31 to 1.95 and indicators had factor loading ranged from 0.30 to 8.26, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ระบุองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจำนวน 640 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฏิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2557 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 12 ตัวบ่งชี้ จำแนกตามมิติขององค์ประกอบในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างได้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบความร่วมมือ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การแบ่งปันข้อมูล 2) ความรับผิดชอบ 3) การแก้ปัญหา องค์ประกอบความรู้ดิจิตอลมี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) เข้าใจดิจิตอล 2) การใช้ดิจิตอล 3) การรู้สารสนเทศ องค์ประกอบวิสัยทัศน์ดิจิตอล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ 3) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ และองค์ประกอบการสื่อสาร มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ทักษะการสื่อสาร 2) ทัศนคติในการสื่อสาร 3) ชัดเจนในการสื่อสาร โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย 60 พฤติกรรมบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายที่เหมาะสมสำหรับการคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับ/น้อยกว่า 20 % 2. โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก โดยพิจารณาได้จากค่าไคสแควร์ ( ) เท่ากับ 7.863 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 6 ( /df = 1.31) ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.248 ซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.998 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.973 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.022 3. องค์ประกอบมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ ส่วนตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้ และทุกพฤติกรรมบ่งชี้
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ระบุองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจำนวน 640 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามระดับการปฏิบัติ เก็บรวมรวมข้อมูลในปี 2557 วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และการวิเคราะห์องค์ประกอบ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 12 ตัวบ่งชี้ จำแนกตามมิติขององค์ประกอบในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างได้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้คือ องค์ประกอบความร่วมมือ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การแบ่งปันข้อมูล 2) ความรับผิดชอบ 3) การแก้ปัญหา องค์ประกอบความรู้ดิจิตอลมี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) เข้าใจดิจิตอล 2) การใช้ดิจิตอล 3) การรู้สารสนเทศ องค์ประกอบวิสัยทัศน์ดิจิตอล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ 3) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ และองค์ประกอบการสื่อสาร มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ทักษะการสื่อสาร 2) ทัศนคติในการสื่อสาร 3) ชัดเจนในการสื่อสาร โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย 60 พฤติกรรมบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายที่เหมาะสมสำหรับการคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับ/น้อยกว่า 20 % 2. โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก โดยพิจารณาได้จากค่าไคสแควร์ ( ) เท่ากับ 7.863 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 6 ( /df = 1.31) ค่านัยสำคัญทางสถิติ (P-value) เท่ากับ 0.248 ซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.998 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.973 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.022 3. องค์ประกอบมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกองค์ประกอบ ส่วนตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบที่เป็นค่ามาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้ และทุกพฤติกรรมบ่งชี้
The objectives of this dissertation were as follows: 1) to develop the digital leadership indicators of school administrators under Office of the Basic Education Commission, 2) to test the balancing of the digital leadership indicators model developed from empirical data of school administrators under Office of the Basic Education Commission, and 3) to indicate factors, indicators and indicator behaviors with construct validity or composition weight according to the specified criteria. The data of this quantitative research were collected from 640 samples consisting of basic school administrators under Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education, in the academic year 2016. The data were analyzed by mean, standard deviation, distribution coefficient, and factor analysis through computerized statistical program. The results of the study were found that: 1. There were 12 digital leadership indicators of school administrators under Office of the Basic Education Commission classified by 4 factor dimensions in structural relation model: 3 indicators in Collaboration elements; 1) Sharing Information, 2) Responsibility, and 3) Problem-Solving, 3 indicators in Digital literacy elements; 1) Digital literacy, 2) Digital Usage, and 3) Information Literacy, 3 indicators in Digital Vision elements; 1) Vision Formulating 2) Vision Articulating, and 3) Vision Implementing, and 3 indicators in Communication elements; Elements of Communication has 3 indicators, 1) Communication Skills, 2) Communication Attitude, and 3) Clarity in Communication. The 60 behaviors indicators used in the research had appropriate average value and distribution coefficient allocated in every structural relationship model which according to the criteria set, the average was higher than 3.00 and the distribution coefficient was equal or lower than 20% 2.The measurement model of each component developed from the theory and research was positively consistent with the empirical data; = 7.863, df = 6 ( /df = 1.31), P-value = 0.248, GFI = 0.998, AGFI = 0.973, and RMSEA = 0.022 3.The factor loading of each indicator and balance component was higher than the specified criteria at 0.05. Indicators and indicator behaviors had standard weight higher than the specified criteria at 0.30.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุการเป็นผู้ติดยาเสพติดในเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่จะเป็นภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชน 3) เพื่อบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันการ ติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการ บูรณาการการสร้างภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร (Documentary Research Methodology) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaires) จากความสมัครใจของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยพระสงฆ์ จำนวน 5 รูป เจ้าหน้าที่ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ประจำสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และเจ้าหน้าที่ประจำสถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 20 คน เยาวชนที่กำลังบำบัดรักษาจากการติดยาเสพติด ณ สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีและ ณ สถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 40 คน และเยาวชนที่ไม่ติดยาเสพติดที่กำลังศึกษา ณ วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 155 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุการติดยาเสพติดของเยาวชน เกิดจากปัจจัยด้านครอบครัว บิดามารดาหรือผู้ปกครองให้ความรักความอบอุ่นแก่เยาวชนไม่เพียงพอ ไม่เป็นตัวอย่างที่ดีให้เยาวชน ไม่ได้ปลูกจิตสำนึกเยาวชนให้รังเกียจยาเสพติด ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ครอบครัวมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่าย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ดำรงอยู่ มีเพื่อนบ้านเป็นผู้ติดยาเสพติด ปัจจัยด้านจิตวิทยา การถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับ ปัจจัยการคบเพื่อน คบเพื่อนโดยไม่สังเกตว่าเขาเป็นคนเช่นไร ปัจจัยการติดการพนัน แพ้พนันแล้วไม่มีเงินจ่าย ปัจจัยการไม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยการขาดเป้าหมายในการดำเนินชีวิต ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยจาก ความรัก ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด และปัจจัยการขาดศึกษาตามวัย ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย หลักพุทธธรรมที่นำมาใช้สร้างภูมิคุ้มกัน มี 3 หลักธรรม ประกอบด้วย 1) อริยสัจ 4 นำมาใช้เป็น “แนวคิด” ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีป้องกัน เพราะเป็นคำสอนที่มุ่งให้แก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหา 2) สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ โดยนำข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักตน, ข้อปุคคลัญญุตา ความรู้จักบุคคล และข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักผล เรียกสั้น ๆ ว่า “รู้ตน รู้คน รู้ภัย” มาใช้เป็น “วัคซีน” 3) นำข้อธรรมทั้ง 3 นี้ไปใช้ร่วมกับมรรคมีองค์ 8 ในข้อสัมมากัมมันตะ ซึ่งอยู่ในหมวดศีล เพื่อให้เกิด “ความเชื่อมั่น” ว่า การปฏิบัติใด ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ตน รู้คน และรู้ภัย นั้น ต้องเป็นการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเท่านั้น หลังจากนั้นนำข้อธรรมทั้ง 3 สู่การปฏิบัติทางโลก ด้วยการแปลงศีลเป็นวินัย เพราะศีลในทางธรรม คือ วินัยในทางโลก สุดท้ายปลูกฝังความวินัยให้เกิดขึ้นในเยาวชน ด้วยการให้ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นให้เป็นคนรู้ตน รู้คน และรู้ภัย อย่างคงเส้นคงวาจนเกิดเป็นความเคยชิน และด้วยความเคยชินในกิจกรรมที่สร้างสรรค์จะกลายเป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดในจิตใจของเยาวชน องค์ความรู้ใหม่ที่การวิจัยค้นพบ คือ AC for 3Ks Model ซึ่งเกิดจากการให้เยาวชนทำกิจกรรม (Activities: A) อย่างคงเส้นคงวา (Consistently: C) เพื่อ (for)
การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุการเป็นผู้ติดยาเสพติดในเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่จะเป็นภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชน 3) เพื่อบูรณาการสร้างภูมิคุ้มกันการ ติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม และ 4) เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการ บูรณาการการสร้างภูมิคุ้มกันการติดยาเสพติดในเยาวชนด้วยหลักพุทธธรรม” การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเอกสาร (Documentary Research Methodology) และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaires) จากความสมัครใจของกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยพระสงฆ์ จำนวน 5 รูป เจ้าหน้าที่ทัณฑสถานบำบัดพิเศษกลาง จำนวน 10 คน เจ้าหน้าที่ประจำสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และเจ้าหน้าที่ประจำสถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 20 คน เยาวชนที่กำลังบำบัดรักษาจากการติดยาเสพติด ณ สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนีและ ณ สถานพินิจเด็กและเยาวชน แห่งละจำนวน 40 คน และเยาวชนที่ไม่ติดยาเสพติดที่กำลังศึกษา ณ วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 155 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุการติดยาเสพติดของเยาวชน เกิดจากปัจจัยด้านครอบครัว บิดามารดาหรือผู้ปกครองให้ความรักความอบอุ่นแก่เยาวชนไม่เพียงพอ ไม่เป็นตัวอย่างที่ดีให้เยาวชน ไม่ได้ปลูกจิตสำนึกเยาวชนให้รังเกียจยาเสพติด ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ครอบครัวมีรายได้ไม่พอกับค่าใช้จ่าย ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ดำรงอยู่ มีเพื่อนบ้านเป็นผู้ติดยาเสพติด ปัจจัยด้านจิตวิทยา การถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับ ปัจจัยการคบเพื่อน คบเพื่อนโดยไม่สังเกตว่าเขาเป็นคนเช่นไร ปัจจัยการติดการพนัน แพ้พนันแล้วไม่มีเงินจ่าย ปัจจัยการไม่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยการขาดเป้าหมายในการดำเนินชีวิต ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย ปัจจัยจาก ความรัก ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด และปัจจัยการขาดศึกษาตามวัย ทำให้ถูกชักจูงได้ง่าย หลักพุทธธรรมที่นำมาใช้สร้างภูมิคุ้มกัน มี 3 หลักธรรม ประกอบด้วย 1) อริยสัจ 4 นำมาใช้เป็น “แนวคิด” ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีป้องกัน เพราะเป็นคำสอนที่มุ่งให้แก้ไขที่ต้นเหตุของปัญหา 2) สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ โดยนำข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักตน, ข้อปุคคลัญญุตา ความรู้จักบุคคล และข้ออัตตัญญุตา ความรู้จักผล เรียกสั้น ๆ ว่า “รู้ตน รู้คน รู้ภัย” มาใช้เป็น “วัคซีน” 3) นำข้อธรรมทั้ง 3 นี้ไปใช้ร่วมกับมรรคมีองค์ 8 ในข้อสัมมากัมมันตะ ซึ่งอยู่ในหมวดศีล เพื่อให้เกิด “ความเชื่อมั่น” ว่า การปฏิบัติใด ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ตน รู้คน และรู้ภัย นั้น ต้องเป็นการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเท่านั้น หลังจากนั้นนำข้อธรรมทั้ง 3 สู่การปฏิบัติทางโลก ด้วยการแปลงศีลเป็นวินัย เพราะศีลในทางธรรม คือ วินัยในทางโลก สุดท้ายปลูกฝังความวินัยให้เกิดขึ้นในเยาวชน ด้วยการให้ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นให้เป็นคนรู้ตน รู้คน และรู้ภัย อย่างคงเส้นคงวาจนเกิดเป็นความเคยชิน และด้วยความเคยชินในกิจกรรมที่สร้างสรรค์จะกลายเป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดในจิตใจของเยาวชน องค์ความรู้ใหม่ที่การวิจัยค้นพบ คือ AC for 3Ks Model ซึ่งเกิดจากการให้เยาวชนทำกิจกรรม (Activities: A) อย่างคงเส้นคงวา (Consistently: C) เพื่อ (for)
มุ่งหมายให้เขารู้ตนว่าเป็นคนมีคุณค่า (Knowing himself as a value: K), รู้ที่จะเลือกคบเพื่อน (Knowing how to make friend: K), และรู้ภัยของยาเสพติด (Knowing how to know drug hazard: K)
The objective of the research entitled “The Youth Immunization from Drug Addiction with Buddhadhamma” is the following: 1) To study the causes of drugs addicts in youth, 2) To study the principles of Buddhadhamma that will be used to study as immunity to drug addiction in youth, 3) To integrate the youth immunization from drug addiction with Buddhadhamma, and 4) To create new knowledge about “The model of integration of the youth immunization from drug addiction with Buddhadhamma". This research is a qualitative research using documentary research methodology and collecting data by questionnaires from the voluntary sample consisting of 5 monks, 10 Central Special Correctional Institution personnel, full-time staff from the Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment (PMNIDAT), and full-time staff from the Department of Juvenile Observation and Protection for 20 staff in each agency. Youth who are being treated for drug addiction at the Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment and the Department of Juvenile Observation and Protection for 40 youths in each agency, and non-addicted youth who are studying at Minburi Technical College Bangkok, totaling 20 people, for total of 155 monks/person. The results of the study found that: The causes of youth addiction are caused by family factors, not enough for parents or guardians to give love and warmth to youth, not a good example for young, not raising awareness of youth to hate drugs, economic factors, family’s income is not enough to cover expenses existing environment factors, addicted neighborhood, Psychological factors, demeaning or demanding to be accepted, dating factors, making friendships without noticing what they’re, gambling factors, lost a bet and had no money to pay. The factor not how to know to keep with free time to be useful. These factors make being easily influenced, lacking of goals in life, resulting in being easily influenced. Love factor makes a wrong decision, and the lack of education factor by age results in being easily influenced. The Buddhadhamma used to create immunity consist of 3 principles, namely: 1) Noble Truth 4: used as a "concept" for solving problems through prevention methods, aimed at resolving the root cause of the problem. 2) The Sappurisa Dharma 7: is the Dharma of the faithful by bringing the knowing oneself, knowing how to make friend, and knowing the result to be used as a "vaccine” 3) Using these 3 verses together with the Eightfold Path of the Right View which is in the precept category in order to create "confidence" that any practice for knowledge, self-awareness, and danger must be performed only in a good way. Bringing the principles of the Buddhadhamma principles to create immunity, there’s begin with the conversion of precepts into discipline. Because moral precepts are worldly discipline, and create discipline in the youth later, by having them perform activities aimed at reinforcing them as the following: 1) Knowing oneself means knowing that he is a valuable person, by making him "a smart person" for his own benefit, such as studying smart, playing sports, playing good music, etc. or creating him "good person" for the benefit of others, such as helping to do housework, as to dedicate themselves to the benefit of society, etc. 2) Knowing people, means knowing how to select the good person to be friends. 3) Knowing danger, means being aware of the drug danger by conducting activities with such aims consistently and until becoming familiar will impact on immunity in the minds of young people and will not interfere with drugs.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration in secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission, 2) to create an academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission, and 3) to evaluate and affirm the academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by questionnaires with reliability at 0.98, structural interviews and checklist forms from 676 samples consisting of school directors, vice academic directors, heads of academic department and teachers in 201 secondary schools under Office of the Basic Education Commission area 3-10. The data were collected from September 2018 to February 2019 and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of the academic administration of the secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission consist of 17 components and 115 variables. 2. The academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Operation, 2) Academic administration process, 3) Learning activities, 4) Educational participation, and 5) Educational quality control. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Educational quality control, followed by Learning activities, Operation, and Educational participation respectively. The model of academic administration for secondary school administrators has a chi-square value = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992, and RMSER - .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at  = 4.42, higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกขั้นพื้นฐาน 167 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 500 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินและรับรอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 17 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการพัฒนารูปแบบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า GFI = 0.982, AGFI = 0.953, CFI = 0.997 และ RMSEA = 0.029 ได้องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) ด้านการนำองค์การ 2) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3) ด้านการให้ความสำคัญกับนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง 4) ด้านการวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5) ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 6) ด้านการมุ่งเน้นการทำงาน 7) ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.50 ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรอง
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกขั้นพื้นฐาน 167 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 500 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมินและรับรอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 17 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการพัฒนารูปแบบของการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รูปแบบการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการบริหารคุณภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า GFI = 0.982, AGFI = 0.953, CFI = 0.997 และ RMSEA = 0.029 ได้องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) ด้านการนำองค์การ 2) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3) ด้านการให้ความสำคัญกับนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง 4) ด้านการวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 5) ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 6) ด้านการมุ่งเน้นการทำงาน 7) ด้านผลลัพธ์การดำเนินการ 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.50 ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรอง
The purposes of this study were: 1) to study the quality management components of schools under Office of the Basic Education Commission, 2) to develop the quality management model of schools under Office of the Basic Education Commission, and 3) to assess and to certify the model of school quality management under Office of the Basic Education Commission. The mixed research methods were used in the study. 500 samples consisting of school administrators, teachers, and committee of 167 schools obtained by were used in the study. The data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and survey component analysis by statistical software. The results of the study were as follows : 1. A quality management model of schools under Office of the Basic Education Commission consists of 7 factors and 17 indicators. 2. The results of the development of components of quality management of schools under Office of the Basic Education Commission obtained the quality management model consistent with the empirical data at GFI = 0.982 AGFI = 0.953 CFI = 0.997 and RMSEA = 0.29. 7 main components as follows : 1) Organization leading 2) Strategic plan 3) Student and the concerned individual focus element 4) Measurement analysis and knowledge management 5) Personnel focus element 6) Work component focus and 7) Results of operations element. 3. The results of the evaluation and certification from 17 experts found that in the accuracy suitability feasibility and benefits of the model were at the highest average level the suitability was at 4.50 which passed the certification criteria.
หนังสือ