Search results

20 results in 0.15s

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • คำนำ
  • ปฐมบทสู่ความเป็นไทย
  • บทที่ 1 พระภูมีทรงสอน
  • บทที่ 2 นามกรเกริกไกร
  • บทที่ 3 จารจดไว้ในกาลเก่า
  • บทที่ 4 เรื่องเล่าชาวภาษิต
  • บทที่ 5 พิพิธประเพณี
  • บทที่ 6 กล่อมกวีดนตรีประสาน
  • บทที่ 7 ยลย่านบ้านตลาด
  • บทที่ 8 สะพานพาดเชื่อมฝั่ง
  • บทที่ 9 คนฝรั่งอยู่ยั้งสยาม
  • บทที่ 10 ระบือนามวรรณศิลป์
  • บทที่ 11 รามนรินทร์ราชนิเวศน์
  • บทที่ 12 หมายเหตุโทรทัศน์ไทย
  • บทที่ 13 สื่อสมัยหนังสือพิมพ์
  • บทที่ 14 ปริ่มบุญพุทธประวัติ
  • บทที่ 15 นิตยสารัตถนิยม
  • บทที่ 16 ชวนชมเกาะทะเลไกล
  • บทที่ 17 วิชาลัยสารพัด
  • บทที่ 18 สรรสัตว์ฤาสิ้นสูญ
  • บทที่ 19 บริบูรณ์ร้านตลาด
  • บทที่ 20 ราชสถานานุสรณ์
  • บทที่ 21 พระนครพิพิธภัณฑ์
  • บทที่ 22 พระแม่ขวัญแห่งแผ่นดิน
  • บทที่ 23 สืบศิลป์ถิ่นแดนไทย
  • บทที่ 24 โอสถใช้แต่โบราณ
  • บทที่ 25 ชลธาร ละหาร บึง
  • บทที่ 26 หวนคำนึงถึงห้างเก่า
  • บทที่ 27 เรื่องเล่าสารถี
  • บทที่ 28 พฤกษีในไพรสณฑ์
  • บทที่ 29 เยาวชนคนกิจกรรม
  • บทที่ 30 ธ ทรงทำเพื่อนำไทย
  • บทที่ 31 สถิตไว้ในแผ่นดิน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สิ่งประเสริฐสี่ประการของชีวิต
  • สิ่งประเสริฐในการเป็นอิสลามิกชน
  • สิ่งประเสริฐที่ได้รับจากการเป็นคริสตชน
  • จิตอาสา : ความสำนึกทางสังคม
  • หลากหลายข้อแนะนำเกี่ยวกับการมีอายุยีน
  • ความกล้าหาญทางจริยธรรมสิ่งที่หาได้ยากในสังคมไทย
  • บวร : บทบาทร่วมของสามองค์ประกอบ
  • แก่นแกนหลักของการบริหาร
  • ไพศาลทักษิณ : พันธุ์ไม้ผลพระราชทานฯ
  • ตะกอนความคิด (สีเขียว)
  • เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ : การบริหารโครงการต้นแบบ
  • คุณธรรม จริยธรรม ความกล้าหาญ : จากแสนแสบ ของไม้ เมืองเดิม
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา การเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของชาวปกาเกอะญอบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนทั้งสิ้น ๓๐ ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ คือ แบบสอบถามปลายเปิด จำนวน ๔ ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ให้สัมภาษณ์ ตอนที่ ๒ บริบทชุมชนบ้านแม่เหาะ ตอนที่ ๓ สภาพชีวิตของชุมชนบ้านแม่เหาะ และตอนที่ ๔ ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนบ้านแม่เหาะ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ อ้างอิงเปรียบเทียบข้อมูลในเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ ผลการวิจัยพบว่า: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีวิดีชีวิตที่แตกต่างไปจากเดิมที่เคยปฏิบัติกันมา ไม่ว่าจะเป็นในด้านปัจจัยภายในของสังคม และปัจจัยภายนอกที่เกิดขึ้นจากกระแสของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยใหม่ ซึ่งมีปัจจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบต่อชุมชนบ้านแม่เหาะควบคู่กันไป เหตุที่เป็นดังนี้ก็เนื่องมากจากการที่ระบบทางสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชี่อมโยงกันอยู่ตลอดเวลาจึงทำให้ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชุมชนปกาเกอะญอ ชุมชนบ้านแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
The objective of the Study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province is to study the history, changing and factors that cause changing of the Pagagayaw people in Ban Mae Hoh, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The population in this study is 30 cases living in Ban Mae Hoh community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province. The qualitative research tools were 4 sections of open-ended questionnaires, consisted of part 1) general information about interviewees, part 2) about Ban Mae Hoh community, part 3) about life conditions in Ban Mae Hoh and part 4) the community factors that cause changes within the Ban Mae Hoh community. The data was analyzed from the interview and the study of previous research papers. The research found that: From the study of changes in the Karen Pagagayaw, Ban Mae Hoh Community, Mae Hoh Sub-District, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province, their way of life has different from the traditional practice in terms of internal factors like society and external factors arising from the current trend of changing according to the modern era for Ban. The important factor that results in the changes is both Internal and external factors. These factors will cause both positive and negative impacts to the Mae Hoh community in the same time. The reasons are that the social and cultural systems of human beings are constantly intertwined and therefore want to study the changes of the Karen Pagagayaw community, Ban Mae Hoh Community, Mae Sariang District, Mae Hong Son Province.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยาน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสง์ 1) เพื่อศึกษาหลักคำสอนในนิกายวัชรยาน 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน 3) เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักคำสอนในนิกายวัชรยาน พบว่าคำสอนในพุทธศาสนาวัชรยานไม่ว่าจะเป็นหลักพระธรรมวินัยหรือพระไตรปิฎกไม่ได้มีความแตกต่างไปจากพระพุทธศาสนาเถรวาทแต่อย่างใด เพราะสิ่งที่ฝ่ายเถรวาทมี ฝ่ายวัชรยานก็มีเช่นกัน คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก พระพุทธศาสนาวัชรยานเกือบจะเป็นหนึ่งเดียว ในบรรดาพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบันที่ยังรักษาสมบัติอันมีค่ายิ่งแห่งตันตระประเพณีของพระพุทธศาสนาจากอินเดียไว้ได้ทั้งหมด ตันตระยานปรากฏขึ้นในช่วงสามของชีวิตพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป ซึ่งเน้นที่ตันตระวิธีและมันตระยาน นับเป็นมิติพิเศษที่รับรู้ทางรหัสนัยของวัชรยาน คือเน้นที่การปฏิบัติธรรมโดยพื้นฐานว่า พระพุทธเจ้าปรากฏพระองค์กับโยคาวจารอย่างเป็นจริงเป็นจริง ณ ขณะปฏิบัติธรรมนั้น นับเป็นวิธีที่สั่งสอนให้เข้าถึงพุทธภาวะในชาตินี้ หาไม่ก็ภายในอีกไม่กี่ชาติข้างหน้า นับเป็นการเร่งโพธิสัตว์มรรคาของวัชรยาน ที่ผู้ปฏิบัติธรรมอธิษฐานให้ความเป็นสามัญมนุษย์เข้าถึงพุทธภาวะ 2. การปฏิบัติตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพบว่าตันตระแม้จะมีเหตุผลนำไปสู่ความเชื่อและข้อปฏิบัติหลายอย่างที่ไม่เคยปรากฏในพระพุทธศาสนา หลาย ๆ อย่างเอื้อต่อความเข้าใจผิด ไม่ว่าจะเป็นของการละเมิดศีล (ดื่มน้ำเมา) การให้ความสำคัญกับเรื่องเพศ ตลอดจนการยอมรับให้พระชินพุทธเจ้าตลอดจนเทพทั้งหลายมีสัญลักษณ์ภาคคู่ที่เรียกว่า ศักติหรือเทวี ภาพพระชินพุทธเจ้ากำลังโอบกอดเทวีของพระองค์ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานศิลปะทิเบต แม้แต่ในมณฑลบ่อยครั้งที่เราจะเห็นภาพเช่นนี้อยู่เหมือนกัน ดังนั้นการศึกษาการปฏิบัติตันตระ เข้าใจจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาความเชื่ออันแฝงอยู่ในสัญลักษณ์เหล่านั้นด้วย เป้าหมายของการปฏิบัติตันตระในเบื้องต้นมุ่งหวังเพื่อที่จะดึงความศรัทธาของประชาชนที่ส่วนใหญ่หันไปให้ความเคารพนับถือวิธีการของฮินดูตันตระให้กลับมานับถือพุทธศาสนาเหมือนเดิม แต่เป้าหมายหลักก็คือการนําเสนอหลักการใหม่เพื่อให้เข้าถึงความหลุดพ้นได้ง่ายกว่าและเร็วกว่าเดิม หากมองผิวเผินอาจดูว่ามีความแปลกประหลาด แต่ถ้าเข้าไปศึกษาการปฏิบัติของตันตระแล้วจะเห็นว่ายังคงมุ่งตรงสู่ความหลุดพ้น เหมือนกับนิกายอื่น ๆ เพียงแต่วิธีการเท่านั้นที่ดูต่างกัน 3. วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพุทธศาสนิกชนชาวพุทธวัชรยานต่างมีวิถีชีวิตที่ยึดมั่นในพุทธศาสนานิกายวัชรยาน วิถีชีวิตประจำวันของชาวพุทธวัชรยานจึงมีศาสนาเป็นเครื่องนำทาง ในทุก ๆ วันแทบทุกคนล้วนต้องมีพิธีกรรมทางตันตระเข้ามาเกี่ยวข้อง ตั้งแต่เช้าก่อนออกจากบ้าน ระหว่างทางเดินจนถึงที่ทำงาน ชาวพุทธวัชรยานบางคนจะกระทำพิธีกรรมทางศาสนาทั้งเวลายืน เดิน นั่ง นอน ด้วยการท่องมนต์ ทำสมาธิ นับลูกประคำและการแกว่งหรือหมุนกงล้อมนตรา จนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมประจำชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
การวิจัยเรื่อง วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยาน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสง์ 1) เพื่อศึกษาหลักคำสอนในนิกายวัชรยาน 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน 3) เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักคำสอนในนิกายวัชรยาน พบว่าคำสอนในพุทธศาสนาวัชรยานไม่ว่าจะเป็นหลักพระธรรมวินัยหรือพระไตรปิฎกไม่ได้มีความแตกต่างไปจากพระพุทธศาสนาเถรวาทแต่อย่างใด เพราะสิ่งที่ฝ่ายเถรวาทมี ฝ่ายวัชรยานก็มีเช่นกัน คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก พระพุทธศาสนาวัชรยานเกือบจะเป็นหนึ่งเดียว ในบรรดาพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบันที่ยังรักษาสมบัติอันมีค่ายิ่งแห่งตันตระประเพณีของพระพุทธศาสนาจากอินเดียไว้ได้ทั้งหมด ตันตระยานปรากฏขึ้นในช่วงสามของชีวิตพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป ซึ่งเน้นที่ตันตระวิธีและมันตระยาน นับเป็นมิติพิเศษที่รับรู้ทางรหัสนัยของวัชรยาน คือเน้นที่การปฏิบัติธรรมโดยพื้นฐานว่า พระพุทธเจ้าปรากฏพระองค์กับโยคาวจารอย่างเป็นจริงเป็นจริง ณ ขณะปฏิบัติธรรมนั้น นับเป็นวิธีที่สั่งสอนให้เข้าถึงพุทธภาวะในชาตินี้ หาไม่ก็ภายในอีกไม่กี่ชาติข้างหน้า นับเป็นการเร่งโพธิสัตว์มรรคาของวัชรยาน ที่ผู้ปฏิบัติธรรมอธิษฐานให้ความเป็นสามัญมนุษย์เข้าถึงพุทธภาวะ 2. การปฏิบัติตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพบว่าตันตระแม้จะมีเหตุผลนำไปสู่ความเชื่อและข้อปฏิบัติหลายอย่างที่ไม่เคยปรากฏในพระพุทธศาสนา หลาย ๆ อย่างเอื้อต่อความเข้าใจผิด ไม่ว่าจะเป็นของการละเมิดศีล (ดื่มน้ำเมา) การให้ความสำคัญกับเรื่องเพศ ตลอดจนการยอมรับให้พระชินพุทธเจ้าตลอดจนเทพทั้งหลายมีสัญลักษณ์ภาคคู่ที่เรียกว่า ศักติหรือเทวี ภาพพระชินพุทธเจ้ากำลังโอบกอดเทวีของพระองค์ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานศิลปะทิเบต แม้แต่ในมณฑลบ่อยครั้งที่เราจะเห็นภาพเช่นนี้อยู่เหมือนกัน ดังนั้นการศึกษาการปฏิบัติตันตระ เข้าใจจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาความเชื่ออันแฝงอยู่ในสัญลักษณ์เหล่านั้นด้วย เป้าหมายของการปฏิบัติตันตระในเบื้องต้นมุ่งหวังเพื่อที่จะดึงความศรัทธาของประชาชนที่ส่วนใหญ่หันไปให้ความเคารพนับถือวิธีการของฮินดูตันตระให้กลับมานับถือพุทธศาสนาเหมือนเดิม แต่เป้าหมายหลักก็คือการนําเสนอหลักการใหม่เพื่อให้เข้าถึงความหลุดพ้นได้ง่ายกว่าและเร็วกว่าเดิม หากมองผิวเผินอาจดูว่ามีความแปลกประหลาด แต่ถ้าเข้าไปศึกษาการปฏิบัติของตันตระแล้วจะเห็นว่ายังคงมุ่งตรงสู่ความหลุดพ้น เหมือนกับนิกายอื่น ๆ เพียงแต่วิธีการเท่านั้นที่ดูต่างกัน 3. วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพุทธศาสนิกชนชาวพุทธวัชรยานต่างมีวิถีชีวิตที่ยึดมั่นในพุทธศาสนานิกายวัชรยาน วิถีชีวิตประจำวันของชาวพุทธวัชรยานจึงมีศาสนาเป็นเครื่องนำทาง ในทุก ๆ วันแทบทุกคนล้วนต้องมีพิธีกรรมทางตันตระเข้ามาเกี่ยวข้อง ตั้งแต่เช้าก่อนออกจากบ้าน ระหว่างทางเดินจนถึงที่ทำงาน ชาวพุทธวัชรยานบางคนจะกระทำพิธีกรรมทางศาสนาทั้งเวลายืน เดิน นั่ง นอน ด้วยการท่องมนต์ ทำสมาธิ นับลูกประคำและการแกว่งหรือหมุนกงล้อมนตรา จนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมประจำชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
This study is an analysis ofThe Way of Life According to Trantra Tradition in Vajrayana Buddhism. This study is qualitative research which aims of study about 1) To study the teaching of Vajrayana Buddhism, 2) To study the Tantra practices according to Vajranaya tradition and 3) To analyze the way of life according to the tantra tradition in Vajrayana Buddhism. The study shows that 1. Inrespect of Vajrayana teaching, Vajrayana followers view their school as not different from Theravada in terms of sharing the monastic codes (Vinaya), discourses (Sutta), and the higher doctrine (Abhidhamma). In addition, It can be said that Vajrayana has its own identity that can preserve the knowledge on Tantra transmitted from India. The esoteric practice of Vajrayana focuses on many aspects such as the Buddhas can reveal their bodies to the practitioners in meditation, while the enlightenment can also be reached in this very life. In consequence, the way of Bodhisattva can be accelerated, in which the practitioners can have determination to attain the Buddha-hood in the form of human beings. 2. Regarding the guideline of Vajranaya, various practices such as drinking alcohol, sexual conduct, and the acceptance of Buddha in the forms of deities (the Buddha embracing his spouse for example), can be assumed as irrational and distorted based on the Theravada idea. In fact, the purpose of Tantra practice is aimed to attract people who are interested in Hindu Tantra to Buddhism. However, according to the Buddhist Tanta in Vajrayana, though this kind of practice is odd, but it is the direct way to enlightenment, which is claimed to be faster and easier than the practices of other schools. Therefore, it still focuses on enlightenment, though the way is different, as can be found in other Buddhist schools. 3. In terms of the way of life according to Vajranaya, Vajranaya followers live their lives on the Vajranaya’s way. They practice Vajranaya in daily life, from waking to sleeping, including the time when they go to work. The rituals can be performed in the positions of standing, walking, sitting, and laying down, by chanting, meditating, counting the Mala, as well as turning around the mantra bells and prayer wheel. These practices ultimately become their culture and identity.
หนังสือ

    การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 25 ราย คัดเลือกผู้ที่อาศัยในพื้นที่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 ปี ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า : การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน เกิดจากสภาพวิถีชีวิตของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน ประกอบด้วยด้านครอบครัว ด้านอาชีพ ด้านการศึกษา ด้านการปกครอง ด้านศาสนาและวัฒนธรรม และด้านเทคโนโลยี และมีสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในชุมชน ประกอบด้วยสาเหตุภายใน ได้แก่ สาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒนธรรมใหม่ๆ เข้ามาในชุมชน สาเหตุจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อรับวัฒนธรรมภายนอกเข้ามา ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงแปลงไปด้วย และสาเหตุจากความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ส่วนสาเหตุภายนอก ได้แก่ เกิดจากสาเหตุด้านการพัฒนาของภาครัฐ และสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงบ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
This is the study of the lifestyle and change of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. This study aimed to study the lifestyle and changes of the Karen community in Phra Bath Huai Tom village, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. The sample in this study was the 25 people who lived in Ban Phra Bath Huai Tom Karen community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. All of the participant must have lived in the area for at least 30 years. The research designed qualitatively in order to investigate the phenomena of the lifestyle changes of the Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province. Interviewing was the tool for data collection. The research finds that : Lifestyle changes of the Karen community Ban Phra Bath Huai Tom, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province are, most of data analysis presented comparing, a result of the past and present community lifestyle which was consisting of family, career, education, administration, religion and culture, and technology. Those are reasons why the cause changes in lifestyle in the community. The changes were consisting of internal causes because of the increasing of their population, the materialism trend, and the accepting of new traditions and cultures. That is the main reason why their lifestyle was changing. When Karen people received external culture, this makes the way of life changing as well as beliefs, traditions and culture. The external cause is affected by the development of local and centered government which changed their lifestyle of Karen community in Ban Phra Bath Huai Tom community, Na Sai Sub-district, Li District, Lamphun Province.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553