Search results

52 results in 0.21s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2.เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยพิจารณาจากตัวแปรด้านระดับเพศ และอายุ ที่แตกต่างกัน 3.เพื่อหาข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 113 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมด้านการมีความเชื่อมันและศรัทธาต่อหลักการปกครองระบบประชาธิปไตย ด้านการเคารพในกติกา ของ การปกครองแบบประชาธิปไตย และด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการปกครอง อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ ต่างกัน พบว่า ประชาคมที่มีเพศต่างกันร่วมของประชาคมใน การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2.เพื่อเปรียบเทียบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยพิจารณาจากตัวแปรด้านระดับเพศ และอายุ ที่แตกต่างกัน 3.เพื่อหาข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในเขตตำบลทรงคนองอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 113 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชน ตำบลทรงคนอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมด้านการมีความเชื่อมันและศรัทธาต่อหลักการปกครองระบบประชาธิปไตย ด้านการเคารพในกติกา ของ การปกครองแบบประชาธิปไตย และด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการปกครอง อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ ต่างกัน พบว่า ประชาคมที่มีเพศต่างกันร่วมของประชาคมใน การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของประชาชนในเขตตำบลทรงครอง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้านไม่แตกต่างกัน
The objectives of this research are as follows: 1. To study the democratic political culture of people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District. Nakhon Pathom Province 2. To compare the democratic political culture of the people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District Nakhon Pathom Province by considering different gender and age variables. 3. To find suggestions and opinions on the democratic political culture of the people in Songkanong Subdistrict, Sam Phran District Nakhon Pathom Province The sample size was determined by using the calculation formula of Taro Yamane (Yamane). The sample consisted of 113 people. The tool used to collect data was a questionnaire. Closed-ended and open-ended Data analysis with a computer program Statistics used to analyze data It is frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, (One – Way ANOVA or F – test), and the test of the score mean for each pair using LSD method (Least Significant Difference). The results of the research were as follows: 1) The results of data analysis on democratic political culture of the people of Songkanong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province Overall, the belief in it and faith in the principle of government of democracy. Respect for the rule of democracy And participation in political and governmental activities At the highest level 2) The results of comparing participation in democratic political culture. Of the people in Songkhong Sub-district, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province of the community with heterosexuals, it was found that the Contributing to democratic political culture Of the people in Songkhong Sub-district, Samphran District, Nakhon Pathom Province, in total, there were no differences in 3
หนังสือ

หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น 2)เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมการเมืองกับผู้นำชุมชนท้องถิ่น จำแนกตามสถานะผู้นำชุมชน 3)ข้อเสนอแนะวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น วิธีการดำเนินการวิจัยผู้วิจัยได้ศึกษาวิจัยโดยวิธีวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่เขตอำเภอสหัสขันธ์ ตามสูตรทาโร่ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปรายงานผลทางสถิติเป็นค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่า F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยวิธีการ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า : 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่นอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 พบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่นด้านเพศและสถานะ ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านอายุและระดับการศึกษา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ผู้นำควรให้ประชาชนเข้าไปมามีส่วนร่วมในการตัดสินในการพัฒนาหมู่บ้าน และควรมีประชาชนเข้าร่วมด้วย, ควรปฏิบัติตามกฎหมายโดยไม่ชักถามข้อสงสัย และนักการเมืองควรมีหน้าที่ตรวจสอบผลปฏิบัติงานของข้าราชการแทนประชาชน, ผู้นำควรให้ความช่วยเหลือประชาชน, ประชาชนสามารถเข้าร่วมรับฟังปัญหาการทุจริตในหน้าที่ของนักการเมืองท้องถิ่นได้, ผู้นำควรปฏิบัติงานควบคู่กับการใช้สติปัญญาเพื่อแก้ปัญหา และเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเรื่องการเมืองได้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น 2)เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมการเมืองกับผู้นำชุมชนท้องถิ่น จำแนกตามสถานะผู้นำชุมชน 3)ข้อเสนอแนะวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น วิธีการดำเนินการวิจัยผู้วิจัยได้ศึกษาวิจัยโดยวิธีวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่เขตอำเภอสหัสขันธ์ ตามสูตรทาโร่ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปรายงานผลทางสถิติเป็นค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่า F-test และเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยวิธีการ LSD โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า : 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่นอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 พบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่นด้านเพศและสถานะ ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านอายุและระดับการศึกษา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำชุมชนท้องถิ่น อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ผู้นำควรให้ประชาชนเข้าไปมามีส่วนร่วมในการตัดสินในการพัฒนาหมู่บ้าน และควรมีประชาชนเข้าร่วมด้วย, ควรปฏิบัติตามกฎหมายโดยไม่ชักถามข้อสงสัย และนักการเมืองควรมีหน้าที่ตรวจสอบผลปฏิบัติงานของข้าราชการแทนประชาชน, ผู้นำควรให้ความช่วยเหลือประชาชน, ประชาชนสามารถเข้าร่วมรับฟังปัญหาการทุจริตในหน้าที่ของนักการเมืองท้องถิ่นได้, ผู้นำควรปฏิบัติงานควบคู่กับการใช้สติปัญญาเพื่อแก้ปัญหา และเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเรื่องการเมืองได้
This thesis has the following objectives 1) To study the political culture of local community leaders 2) To study the comparison between the political culture and the local community leaders Classified by community leader status 3) Political culture suggestions of local community leaders. The researcher studied the research using the survey research method, data were collected from the sample group living in Sahatsakhan District with Taro Yamane. The research tools are questionnaires which were analyzed by using the software package. The statistical results were reported as frequency, percentage, mean, standard deviation, F-test and compared the difference by LSD method. The level of statistical significance was set at 0.05. The results showed that: 1. People have opinions on the political culture of the local community leaders, Sahatsakhan District, Kalasin Province According to Sangahavattha 4 at the overall level in the highest level, while considering each aspect it was found that the people's opinions on the political culture of the local community leaders were at the highest level in all aspects. 2. It was found that people had opinions on the political culture of the local community leaders in terms of gender and status no different, but the age and educational level were significantly different at the 0.05 level while comparing the opinions of the people on the political culture of the local community leaders, Sahatsakhan District, Kalasin Province according to Sangahavathut 4. 3. Suggestions for political culture of local community leaders, Sahatsakhan District, Kalasin Province according to Sangahavathut 4 principles, leaders should allow people to participate in decision making in village development and the people should be in attendance, people should follow the law without asking questions and politicians should have a duty to check the performance of government officials instead of the people. Leaders should help people, people can join to hear about corruption in the duties of local politicians, leaders should work with intelligence to solve problems and giving people the opportunity to express their opinions on politics.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ความเป็นมาเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ
  • บทที่ 2 ประเด็นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ
  • บทที่ 3 โครงสร้างทางการเมือง
  • บทที่ 4 วัฒนธรรมการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมือง และการพัฒนาทางการเมือง
  • บทที่ 5 ระบบการเลือกตั้ง
  • บทที่ 6 กลุ่มผลประโยชน์
  • บทที่ 7 พรรคการเมือง
  • บทที่ 8 กรอบในการจำแนกประเภทของระบบการเมือง
  • บทที่ 9 การวิเคราะห์การเมือง
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557