Search results

182 results in 0.08s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • เปิดประเด็น
  • ปัญหาของการบริหารภาครัฐของไทย
  • แนวทางแก้ปัญหาการบริหารภาครัฐ
  • แนวทางการพัฒนาการบริหารภาครัฐ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 นโยบายสาธารณะ บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ
  • บทที่ 2 กระบวนการนโยบายสาธารณะ
  • ส่วนที่ 2 ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายสาธารณะกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์
  • บทที่ 3 ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายสาธารณะกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์
  • ส่วนที่ 3 การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ บทที่ 4 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวางแผนเชิงกลยุทธ์
  • บทที่ 5 ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการและเนื้อหาของการวางแผนปฏิบัติการ
  • บทที่ 6 การกำหนดกลยุทธ์
  • บทที่ 7 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ : ความสำคัญของเครื่องมือการบริหารต่อธรรมาภิบาล
  • วรจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA Cycle) วางแผน ลงมือทำ ตรวจสอบ และปรับปรุง
  • ไคเซ็น (Kaizen) การพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง
  • การบริหารแบบลีน (Lean Management) เพื่อลดความสูญเสียอย่างมีประสิทธิภาพ
  • วิธีการวัดผลแบบสมดุล (Balanced Scorecard) สำหรับ 4 มุมการบริหาร
  • การจัดการความรู้ (Knowledge Management) จากคุณค่าของประสบการณ์
  • ระบบการทำงานเพื่อให้ได้ผลการปฏิบัติงานสูง (High Performance Work System)
  • บทส่งท้าย : ธรรมาภิบาลสร้างได้ แต่ต้องแน่ใจว่าคงทน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • แนวโน้มและทิศทางของการออกแบบนโยบายภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และความท้าทายใหม่
  • ความซับซ้อนของยุทธศาสตร์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในนโยบายสาธารณะไทย
  • กระบวนการนโยบายสิ่งแวดล้อม
  • เครือข่ายกับกลไกการพัฒนาเชิงพื้นที่ : การสังเคราะห์ตัวแบบเชิงทฤษฎีและการบริหารจากผลการดำเนินโครงการความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาความยากจน การพัฒนาสังคม และสุขภาวะ
  • มุมมองและรูปแบบการบริหารจัดการระบบนักบริหารระดับสูงในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร
  • ค่านิยมของสังคมกับพฤติกรรมเจ้าหน้าที่รัฐ
  • การจัดทำงบประมาณแบบมีส่วนร่วม : แนวคิดและหลักการ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • กระสุนปืน ควันระเบิด การปะทะมวลชน และคูหาเลือกตั้ง: ความขัดแย้งและความรุนแรงในการเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 / ประจักษ์ ก้องกีรติ
  • ประชาธิปไตยจากฟากฟ้า: กรณีศึกษาการร่างรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นฉบับหลังสงคราม / ภูริ ฟูวงศ์เจริญ
  • การแทรกแซงด้านมนุษยธรรมและหลักรับผิดชอบเพื่อปกป้องในการเมืองโลก: กรณีบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา, โคโซโว, และลิเบีย / จันจิรา สมบัติพูนศิริ
  • วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา: กระบวนการตัดสินใจนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (16-28 ตุลาคม ค.ศ. 1962) / จิตติภัทร พูนขำ
  • ความขัดแย้งชายแดนไทย-เพื่อนบ้าน: กรณีศึกษาการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างไทยและพม่าในกรณีเนิน 491 จังหวัดชุมพรในปี พ.ศ. 2535 / พินิตพันธุ์ บริพัตร
  • เส้นทางสู่ สสส.: พัฒนาการและการผลักดันให้เกิดสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ / ธีรพัฒน์ อังศุชวาล
  • ปัญหาอยู่ที่แนวคิดหรือการนำไปปฏิบัติ: ศึกษาโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) / ศิกานต์ อิสสระชัยยศ
  • กรณีศึกษา: การปฏิรูปด้านพลังงานน้ำมันในเม็กซิโก / สิเรมอร์ อัศวพรหมธาดา
  • นโยบายด้านแรงงาน: กรณีศึกษาชนพื้นเมืองออสเตรเลีย / ปัณณวิช ตามไท
  • ชุมชนบางบัว (หลังกองการภาพ): ความหวังในการพัฒนาที่อยู่อาศัยของคนจนเมือง / เรือนทอง วัชโรทัย
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy. 2) to study the philosophy of the state of Plato. 3) to analyze the concepts of ruler ship in Theravada Buddhist philosophy and the state-based philosophy of Plato. The Result of this research were found as follows: 1. The concept of Buddhist philosophy of government has shown the views and practices that are the principles that comprise the rule of law. The purpose is for the happiness of the public. Theravada Buddhist Philosophy Focuses on Moral Guardians Good parents must behave. And control of their own behavior to the acceptance of the public. 2. The Rule of the State of Plato is the management or administration of the state (The Republic) to benefit the peace of the people. to be just to be fair and to be happiness from the philosopher king by the wise. 3. The concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy and the philosophy of the state administration of Plato. 1) There is a social ideal. 2) It has a political purpose. 3) It is based on the principle of happiness for society and people. 4) A good society requires. Morality and morality are the foundation of a balanced. 5) Under natural rules.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์
  • พัฒนาการ และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
  • นโยบายสาธารณะ
  • การบริหารการพัฒนา
  • การวางแผน
  • การจัดองค์การ
  • การจัดคนเข้าทำงาน
  • การอำนวยการ
  • ผู้นำ
  • การประสานงาน
  • การควบคุม
  • การประเมินผลการปฏิบัติงาน
  • การจัด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงองค์การของรัฐ
  • การบริหารราชการของประเทศไทย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554