Search results

32 results in 0.15s

หนังสือ

    มูลนิธิศึกษาและแผยแพร่พระพุทธศาสนา จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ
มูลนิธิศึกษาและแผยแพร่พระพุทธศาสนา จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร จำนวน 376 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมาน คือ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-Way ANOVA) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ส่วนข้อเสนอแนะใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครมีการใช้หลักภาวนา 4 โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกออกเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1) ด้านศีลภาวนา 2) ด้านกายภาวนา 3) ด้านจิตตภาวนา และ 4) ด้านปัญญาภาวนา ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อาชีพต่างกัน มีการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกัน แต่ที่มีอายุ รายได้ต่อเดือน และระดับการศึกษาต่างกัน มีการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ด้านกายภาวนา อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างรู้จักคุณค่า ปรับตนเองกับสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล ดูแลรักษาสุขภาพของตนให้ดี 2) ด้านศีลภาวนา ฝึกฝนตนเองและปฏิบัติตามระเบียบวินัย รักษากาย วาจา ให้เรียบร้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน 3) ด้านจิตตภาวนา ฝึกฝนให้ตนมีจิตใจที่อิสระเบิกบานผ่องใส รู้จักการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเมตตา กรุณา และ 4) ด้านปัญญาภาวนา ใช้เหตุและผลในการพิจารณาแก้ไขปัญหา สามารถเข้าใจสิ่งทั้งหลายได้อย่างถูกต้อง และแก้ไขได้ด้วยสติปัญญา มองเห็นสิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร จำนวน 376 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมาน คือ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-Way ANOVA) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ส่วนข้อเสนอแนะใช้ในการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครมีการใช้หลักภาวนา 4 โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อแยกออกเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1) ด้านศีลภาวนา 2) ด้านกายภาวนา 3) ด้านจิตตภาวนา และ 4) ด้านปัญญาภาวนา ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อาชีพต่างกัน มีการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกัน แต่ที่มีอายุ รายได้ต่อเดือน และระดับการศึกษาต่างกัน มีการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ได้ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการส่งเสริมการใช้หลักภาวนา 4 ของประชาชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ด้านกายภาวนา อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอย่างรู้จักคุณค่า ปรับตนเองกับสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล ดูแลรักษาสุขภาพของตนให้ดี 2) ด้านศีลภาวนา ฝึกฝนตนเองและปฏิบัติตามระเบียบวินัย รักษากาย วาจา ให้เรียบร้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน 3) ด้านจิตตภาวนา ฝึกฝนให้ตนมีจิตใจที่อิสระเบิกบานผ่องใส รู้จักการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเมตตา กรุณา และ 4) ด้านปัญญาภาวนา ใช้เหตุและผลในการพิจารณาแก้ไขปัญหา สามารถเข้าใจสิ่งทั้งหลายได้อย่างถูกต้อง และแก้ไขได้ด้วยสติปัญญา มองเห็นสิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นตามความเป็นจริง
The objectives of this research were: 1) to study the state of using the four Bhāvanā principles of people in Nong Khaem District of Bangkok, 2) to compare the use of the four Bhāvanā principles of people in Nong Khaem District of Bangkok with different sex, age, education level, occupation and monthly income, and 3) to analyze suggestions for promoting the use of the four Bhāvanā principles of people in Nong Khaem District of Bangkok. 376 samples were drawn randomly from people in Nong Khaem District. The sample size (n = 380) was determined by using Krejcie and Morgan’s (1970) table of sample sizes, specifying a 5% margin of error. The experimental data were collected by questionnaire and summarized with descriptive statistics; frequency, percentage, mean and standard deviation, and then compared groups by using independent-sample t-tests, F-tests and one-way analysis of variance (ANOVA). The data were analyzed by statistics software. The results of the study were found that: 1) The state of using the four Bhāvanā principles of people in Nong Khaem District of Bangkok was at a high level overall. When considering in aspects by descending mean, the maximum was on Moral cultivation, followed by Physical cultivation, Mental cultivation and Wisdom cultivation respectively. 2) In comparison, the people in Nong Khaem District with different gender and occupation had no statistically significant difference in using the four principles of Bhāvanā, but those with different age, monthly income and education levels showed the statistically significant difference in using the four principles of Bhāvanā at the .05 level. 3) The suggestions in promoting the use of Bhāvanā principles were as follows:1) Physical cultivation: coexisting with environment, knowing the values of environment, balancing oneself and environment, and taking good care of one’s health, 2) Moral cultivation: self-training and having discipline, keeping appropriate bodily and verbal actions in order to live with others in society happily, and not creating troubles to others, 3) Mental cultivation: training oneself to be pleasurable and cheerful, having generosity, kindness, and compassion, and 4) Wisdom cultivation: problem solving based on cause and effect, understanding things correctly and resolving them with intelligence, and seeing things as they really are.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาค ๑ ความหมายของสังฆะ
  • ภาค ๒ ปัจเจกบุคคลแท้จริง
  • ภาค ๓ เครือข่ายแห่งความสัมพันธ์ส่วนตัว
  • บทสรุป สังฆะจะช่วยโลกให้รอดหรือไม่ ?
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559