Search results

34 results in 0.13s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา และ2) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยพระภิกษุสงฆ์ ในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จำนวน 86 รูป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ วิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.94) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับบ ( = 3.10) รองลงมา คือ ด้านการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 3.05) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการเผยแผ่ธรรมะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.69) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน พบว่า พระสงฆ์มีการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านวัยของพระสงฆ์ที่เป็นผู้สูงอายุ จึงควรได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งมีการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดตั้งศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่คณะสงฆ์ และจัดอบรมเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีให้เหมาะสมแก่พระสงฆ์เพราะความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การปรับตัวโดยการเรียนรู้และพัฒนาทักษะสำคัญต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาบุคคลและคณะสงฆ์ให้อยู่ร่วมกับสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงได้ดียิ่งขึ้น
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา และ2) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยการวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยพระภิกษุสงฆ์ ในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จำนวน 86 รูป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ วิเคราะห์หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.94) ซึ่งเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับบ ( = 3.10) รองลงมา คือ ด้านการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 3.05) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการเผยแผ่ธรรมะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( = 2.69) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในเขตพื้นที่อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน พบว่า พระสงฆ์มีการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านวัยของพระสงฆ์ที่เป็นผู้สูงอายุ จึงควรได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งมีการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดตั้งศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่คณะสงฆ์ และจัดอบรมเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีให้เหมาะสมแก่พระสงฆ์เพราะความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่การปรับตัวโดยการเรียนรู้และพัฒนาทักษะสำคัญต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาบุคคลและคณะสงฆ์ให้อยู่ร่วมกับสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงได้ดียิ่งขึ้น
The objectives of this research were 1) to study the use of information technology for the Buddhist propagation of monks in the area of Bang Klam District, Songkhla province, and 2) to study the recommendations and guidelines for promoting the use of information technology for the propagation of Buddhism by monks in the area of Bang Klam district, Songkhla province. The researcher used a mixed method of research both quantitative and qualitative research. The population used in this research consisted of monks in Bang Klam district, Songkhla province for 86 persons and analyzed using a ready-made computer program. By using a statistical program frequency, percentage, mean, and standard deviation were analyzed. and qualitative research by in-depth interview with 5 key informants. The results showed that: 1) The results of the analysis of the use of information technology for Buddhism propagation of the monks in Bang Klam district, Songkhla province by overall were at a moderate level with an average of ( = 2.94) When considering each aspect it was found that the educational aspect had the highest mean score of ( = 3.10) The mean for protecting Buddhism was equal to ( = 3.05) and for propagating dharma the mean value was ( = 2.69). 2) Suggestions on guidelines for promoting the use of information technology for Buddhist propagation of monks in Bang Klam district, Songkhla province showed consistent opinions. It was found that the monks used technology at a moderate level. Due to the age limitation of the elderly monks, therefore, they should be encouraged to learn about using technology for the propagation of Buddhism. including budget support to set up a center for propagating Buddhism for the Sangha and organize training sessions to increase knowledge on how to use technology appropriately for monks because the change of the era is inevitable but the adaptation by learning and developing skills important to the use of information technology for communication. It is important to develop individuals and sangha to better coexist with a changing society.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553