Search results

156 results in 0.12s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
ตามหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อสร้างประโยชน์ที่เกิดกับสังคมและหมู่คณะสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่นอีกด้วย
This research had the objectives to study; 1) Theravada Buddhist propagation, 2) the propagation of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), and 3) to analyze the propagation principles of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako). The researcher collected and studied from text books and related documents including in-depth interview from 10 Buddhist monks and 10 Buddhist laymen. The results were as follows: In the preliminary of Buddhist propagation, the Buddha went to teach and propagate by himself. When he had the disciples, he allowed them to teach and propagated Buddhism till now. The core of Buddhist propagation is Ovada Patimokkha, The Principle of Advantage, Threefold Training, and the Principle of Dependent Origination to cease from all evil, to do what is good, and to purify the mind. The Buddha and his disciples had proper methods to teach the people with the goal to leave from suffering and to reach enlightenment. For Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), he applied the Buddha’ methods to teach the people with four principle; transparency, motivation, brave, and happiness. He described, discussed, and answered Buddhist principles. The principles that he used to teach were Dhana, Sila, Panya because there were the factors of Anapanasati. Also, it was the way to resolve the problems that brought the happiness and calm. For the analytical of Phrasophonvisutdhikhun’s propagation and teaching, he applied the Principles of Threefold Training, the Eightfold Path to teach the people to reach enlightenment. He acted as the model for the people to strongly believe in Buddhism by builds, Buddhist estates and meditation. He practiced following the Buddha’s teaching for the benefit of the people to relief suffering and reach enlightenment and for the benefit of the Sangha in Khonkaen province.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556