Search results

386 results in 0.1s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
The objectives of this thesis are: 1) to study the principles of leadership development in Theravada Buddhism 2) to study the leadership of the district primates in Mahasarakham Province and 3) to analyze the principles’ leadership development in Theravada Buddhist Philosophy of the district primates in Mahasarakham Province. The document and information are Tripitaka, commentary, related textbooks, data and the in-depth interviews from all 8 district primates. The received data were content analysis and an analysis of inductive conclusion’s structure. The results of research were found that: The principles of leadership development in Theravada Buddhism are as follows: the Empire 12, MahaKopal 11, Dharma of the King 10, True Friends 7, Sappurisadharmma 7, Empire 5, Wasadatchakondharm 5, Sangkhawang 4 and Itthibat 4. The leadership of the district primates in Mahasarakham province are in government, education, public welfare, public assistance, education welfare and propagation. The principles are following the Dharma discipline, stimulating, supporting, securing, patronizing, subliming states of mind, propagation Dharma disciplines and supportingsociety.Dharma principles are having Dharma disciplines, canon, Suppurisadharm, Apirihaniyadharm, Brahma 4, Achievement, and Monastic. Means are good behaviors for reliability, not overloading, creation of wisdom for society, being in the middle path, being continuous and khowing how to teach Dharma. Principles in leadership development of the district primates in Mahasarakham Province are in governmental aspect by following the Dharma disciplines. In religious study, they support the education. In education welfare, they follow the proactive approach. In propagation the religion, they do activities. In public assistance, they maintain identity as the Buddhists and in public welfare, they develop mind and objects for the public
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
This dissertation has the following objective; 1. to study the composition of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, 2. to develop the model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, and 3. to evaluate and certify the charismatic leadership model of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration. The samples of this mixed method research were 368 personnel in schools under the Secondary Educational Service Area 29. The research tools were semi-stuctured interviews and questionnaires. The data were analyzed by percentage, frequency, standard deviation, statistics software packages and composition analysis. The research results were found that: 1. The charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration consists of 9 sketch components and 51 variables. The nine components are; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 2. The development model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was relevant to the empirical data with Chi-square (X)2 or (P≤ 0.05) = 0.562, GFI = 0.93, and RMSEA = 0.034. That resulted to 9 main components; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 3. The model of development of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was evaluated and certified by 23 experts in Accuracy, Propriety, Feasibility, and Utility at the highest level overall (4.68-4.77). The evaluation result was above the certified criteria and the result of focus group discussions was also in the same direction.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ