Search results

2 results in 0.11s

หนังสือ

    การวิจัย เรื่องการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1.เพื่อศึกษาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ต้องขังภายในเรือนจำกลางคลองเปรม จำนวน 364 คน ซึ่งกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) และได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามโดยอธิบายเหตุผลและวิธีการตอบและรับแบบสอบถามกลับคืนมาเพื่อทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติทางคอมพิวเตอร์ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentages) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติอนุมาน หรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ ค่ t-test และ One -Way ANOVA โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู๋ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ได้แก่ ด้านสิทธิในการติดต่อสื่อสารมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา คือ ด้านสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลมีค่าเฉลี่ยอยู่ และด้านสิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ต้องขังที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพก่อนต้องโทษที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานครโดยรวมทั้ง 3 ด้านได้แก่ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจและ3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ไม่แตกต่างกัน 3) ผู้ต้องขังได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล ควรเพิ่มบุลคากรทางการแพทย์เพื่อลดระยะเวลาการเข้าพบแพทย์ 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจ ควรเพิ่มกิจกรรมและฝึกอบรมทางศาสนาให้มากขึ้น 3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ควรเพิ่มระยะเวลาในการเยี่ยมญาติผ่าน video conference 25-30 นาที ต่อ/คน
การวิจัย เรื่องการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1.เพื่อศึกษาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ต้องขังภายในเรือนจำกลางคลองเปรม จำนวน 364 คน ซึ่งกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) และได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามโดยอธิบายเหตุผลและวิธีการตอบและรับแบบสอบถามกลับคืนมาเพื่อทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติทางคอมพิวเตอร์ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentages) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติอนุมาน หรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ ค่ t-test และ One -Way ANOVA โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู๋ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ได้แก่ ด้านสิทธิในการติดต่อสื่อสารมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา คือ ด้านสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลมีค่าเฉลี่ยอยู่ และด้านสิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ต้องขังที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพก่อนต้องโทษที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานครโดยรวมทั้ง 3 ด้านได้แก่ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจและ3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ไม่แตกต่างกัน 3) ผู้ต้องขังได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล ควรเพิ่มบุลคากรทางการแพทย์เพื่อลดระยะเวลาการเข้าพบแพทย์ 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจ ควรเพิ่มกิจกรรมและฝึกอบรมทางศาสนาให้มากขึ้น 3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ควรเพิ่มระยะเวลาในการเยี่ยมญาติผ่าน video conference 25-30 นาที ต่อ/คน
Research on the study of the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok It is a quantitative research. (Quantitative Research) with the following objectives: 1. To study the rights of inmates in Klong Prem Central Prison. Bangkok 2. To compare the opinions of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok with gender, age, education level and different professions 3. To suggest solutions to the problem of the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok The sample group used in this research was 364 inmates in the Klong Prem Central Prison, which determined the sample size. with Krejcie & Morgan's ready-made table opening method and multi-stage random sampling was used. Tools used for data collection were questionnaires by explaining reasons and methods of answering and receiving questionnaires back in order to verify the integrity of the data and then analyze them. to be processed using a computer statistical package. and the statistics used in the analysis These were descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing. with inferential statistics, such as t-test and One-Way ANOVA, with the following details. research results 1) A study on the rights of inmates in the Khlong Prem Central Prison Bangkok Overall, it is at a moderate level. When considering each aspect, it was found that It was at a moderate level in all aspects, namely, the right to communicate with the highest average, followed by the right to receive medical care with an average. and the right to religious and religious practice had the lowest average respectively. 2) The results of comparison revealed that the inmates with sex, age, education level and the pre-occupation with different penalties Opinions on the education of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok, including 3 aspects: 1. Rights to receive medical treatment 2. The right to practice religion and practice and 3. The right to communicate. no different. 3) Inmates made recommendations on the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison. Bangkok as follows: 1. The right to receive medical treatment More medical personnel should be added to reduce the time of visits to the doctor. 2. The right to practice religion and practice religion More religious activities and training should be added. 3. The right to communicate Should increase the time to visit relatives via video conference 25-30 minutes perperson / person
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา และ 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา การวิจัยเป็นแบบการวิจัยผสมผสาน (Mixed methodology research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 359 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เชิงคุณภาพได้ สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกแบบมีโครงสร้าง จำนวน 3 คน จากแบบสอบถาม-แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์ข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : 1. การดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา ผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลามีการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 มีค่าแปลผลโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสมาธิ ความตั้งใจมั่น มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( = 4.48) รองลงมา คือ ด้านวิริยะ ความเพียร ( = 4.36) ต่อมาด้านศรัทธา ความเชื่อ ( = 4.33) ต่อมาด้านสติ ความระลึกได้ ( = 4.31) และด้านปัญญา ความรอบรู้ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( = 4.22) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา แบ่งเป็นปัญหาและแนวทางการส่งเสริม ปัญหาที่มีข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ด้านปัญญา ความรอบรู้ โดยมีกลุ่มตัวอย่างให้ข้อเสนอแนะมาทั้งหมด 25 คน คือ ผู้ต้องขังขาดความรู้ การศึกษา มากที่สุด 20 คนรองลงมาคือ ผู้ต้องขังใช้ปัญญาในทางที่ผิด 5 คน และแนวทางการส่งเสริมส่วนใหญ่ด้านปัญญา ความรอบรู้เช่นเดียวกัน โดยมีกลุ่มตัวอย่างให้ข้อเสนอแนะมาทั้งหมด 26 คน คือ ผู้ต้องขังหมั่นศึกษาหาความรู้ อยู่เสมอ มากที่สุด 20 คน รองลงมาคือ ผู้ต้องขังศึกษาหลักธรรมมาใช้เป็นแนวทาง 6 คน สรุปการศึกษาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ พบว่า ทุกท่านให้ความเห็นตรงกันว่าหลักธรรมพละ 5 นั้นเป็นหลักธรรมที่ผู้ต้องขังสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตภายในเรือนจำเรือนจำกลางสงขลาได้จริง มีประโยชน์โดยตรงต่อผู้ต้องขัง ควรสนับสนุน ส่งเสริมหลักธรรมพละ 5 และอาจมีการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ ในด้านต่าง ๆ เช่น เกี่ยวกับการพัฒนาอุปนิสัย ด้านการฝึกอาชีพ เพื่อเป็นประโยชน์ของตัวผู้ต้องขังเอง เพื่อนร่วมสังคม เจ้าหน้าที่รวมถึงเรือนจำ สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่ปกติ สงบสุข ภายใต้กฎหมาย การควบคุมของบ้านเมืองและยังส่งผลไปยังการนำไปใช้หลังจากผู้ต้องขังพ้นโทษกลับไปสู่สังคมปกติได้อีกด้วย
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา และ 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา การวิจัยเป็นแบบการวิจัยผสมผสาน (Mixed methodology research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 359 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เชิงคุณภาพได้ สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกแบบมีโครงสร้าง จำนวน 3 คน จากแบบสอบถาม-แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์ข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า : 1. การดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา ผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลามีการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 มีค่าแปลผลโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านสมาธิ ความตั้งใจมั่น มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( = 4.48) รองลงมา คือ ด้านวิริยะ ความเพียร ( = 4.36) ต่อมาด้านศรัทธา ความเชื่อ ( = 4.33) ต่อมาด้านสติ ความระลึกได้ ( = 4.31) และด้านปัญญา ความรอบรู้ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( = 4.22) ตามลำดับ 2. ข้อเสนอแนะการดำเนินชีวิตตามหลักพละ 5 ของผู้ต้องขังเรือนจำกลางสงขลา แบ่งเป็นปัญหาและแนวทางการส่งเสริม ปัญหาที่มีข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ด้านปัญญา ความรอบรู้ โดยมีกลุ่มตัวอย่างให้ข้อเสนอแนะมาทั้งหมด 25 คน คือ ผู้ต้องขังขาดความรู้ การศึกษา มากที่สุด 20 คนรองลงมาคือ ผู้ต้องขังใช้ปัญญาในทางที่ผิด 5 คน และแนวทางการส่งเสริมส่วนใหญ่ด้านปัญญา ความรอบรู้เช่นเดียวกัน โดยมีกลุ่มตัวอย่างให้ข้อเสนอแนะมาทั้งหมด 26 คน คือ ผู้ต้องขังหมั่นศึกษาหาความรู้ อยู่เสมอ มากที่สุด 20 คน รองลงมาคือ ผู้ต้องขังศึกษาหลักธรรมมาใช้เป็นแนวทาง 6 คน สรุปการศึกษาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ พบว่า ทุกท่านให้ความเห็นตรงกันว่าหลักธรรมพละ 5 นั้นเป็นหลักธรรมที่ผู้ต้องขังสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตภายในเรือนจำเรือนจำกลางสงขลาได้จริง มีประโยชน์โดยตรงต่อผู้ต้องขัง ควรสนับสนุน ส่งเสริมหลักธรรมพละ 5 และอาจมีการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ ในด้านต่าง ๆ เช่น เกี่ยวกับการพัฒนาอุปนิสัย ด้านการฝึกอาชีพ เพื่อเป็นประโยชน์ของตัวผู้ต้องขังเอง เพื่อนร่วมสังคม เจ้าหน้าที่รวมถึงเรือนจำ สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่ปกติ สงบสุข ภายใต้กฎหมาย การควบคุมของบ้านเมืองและยังส่งผลไปยังการนำไปใช้หลังจากผู้ต้องขังพ้นโทษกลับไปสู่สังคมปกติได้อีกด้วย
The objectives of this thematic paper are as follows: 1) to study the way of life in accordance with Bala 5 of the inmates of Songkhla Central Prison and 2) to study the recommendations way of life according to the Bala 5 of Inmates in Songkhla Central Prison. It is a mixed methodology research sample used including inmates of the Songkhla central prison. Quantitative research is composed of 359 persons. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, and standard deviation qualitative interview 3 staff members to collect structured insights from the interview form created by the researcher. The data was analyzed content and analysis the conclusions. The results of research were found that : 1. way of living according to the principles of Bala 5 of Inmates in Songkhla central prison the overall results It was at a high level ( = 4.34) when considered on a case-by-case basis. The aspect, in order of the mean from highest to lowest, found that on the aspect of concentration, had the highest mean ( = 4.48), followed by persistence ( = 4.36), later on faith ( = 4.33), later on, mindfulness ( = 4.31) and intelligence was low on lowest ( = 4.22) respectively 2. Recommendations for a way of living according to the principles of Bala 5 of inmates in Songkhla central prison were divided into problems and ways to promote problems that exist Most of the suggestions on intelligence and knowledge were provided by a sample group. A total of 25 recommendations were made, namely, the inmates lacked knowledge and education. Top 20, followed by 5 inmates who misuse their intelligence and guidelines. Most intellectually promoted knowledge as well, with groups. A total of 26 samples made suggestions, namely, inmates who study hard. Knowledge is always at the most, 20 people, followed by inmates who have studied Dharma principles. Use it as a guide for 6 people. Summarizing the study from the interviews, it was found that everyone agreed that the Bala 5 is actually a principle that inmates can use in their lives in the Songkhla central prison. directly beneficial to the inmates, should support and promote the principles of Bala 5 and training programs may be organized in areas such as character development, vocational training for the benefit of the inmates themselves, social friends, Officers, including prisons able to live together as a normal, peaceful society under the law and control of the country and also affect the implementation after the prisoners are released back to normal society as well.