Search results

6 results in 0.21s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของ บุคลากร ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 410 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejeic และ Morgan ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 196 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการอำเภอ ชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย พบว่า ด้านวิมังสา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านฉันทะ ส่วนด้านจิตตะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการ อำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติ งานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านฉันทะ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน จัดอบรม สัมมนาในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในองค์กรมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น ควรให้มีการมอบหมายงานให้ตรงกับตำแหน่งและประสบการณ์ของบุคลากร และเพิ่มค่าตอบแทนให้ตามความสามารถและตำแหน่งหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านวิริยะ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้แก่บุคลากรเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในสถานที่ทำงานให้บุคลากรได้ผ่อนคลายขณะทำงาน สร้างแรงจูงใจด้านบวกให้บุคลากรเพื่อให้งานที่ปฏิบัตินั้นสำเร็จ และจัดอบรม สัมมนา สร้างความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ และสร้างจิตสำนึกรักองค์กร ด้านจิตตะ ควรให้มีการอบรมสมาธิแก่บุคลากรเพื่อให้ทำงานอย่างมีสมาธิ จดจ่ออยู่กับงาน เสริมสร้างจิตสำนึกในการทำงานและให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง และให้มีการวางแผนในการทำงานอย่างเป็นระบบ ใส่ใจกับรายละเอียดต่าง ๆ ของงาน และด้านวิมังสา ให้เวลาในการทำงานที่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อความถูกต้องของงาน และจะทำให้งานมีประสิทธิภาพ ให้มีการตรวจสอบงานที่ทำเสร็จแล้วอย่างถี่ถ้วนทุกครั้งก่อนนำส่งเพื่อป้องกันความผิดพลาด และให้มีการใช้สื่อโซเชียลและการสื่อสารทั่วไปในการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถรับรู้คำสั่งได้อย่างครบถ้วน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของ บุคลากร ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ประชากร ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 410 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejeic และ Morgan ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 196 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการอำเภอ ชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย พบว่า ด้านวิมังสา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านฉันทะ ส่วนด้านจิตตะ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ที่ว่าการ อำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ต่อเดือน ที่ต่างกัน พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการนำหลักอิทธิบาทธรรมไปใช้ในการปฏิบัติ งานของบุคลากรที่ว่าการอำเภอชะอวด อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้านฉันทะ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน จัดอบรม สัมมนาในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในองค์กรมีกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น ควรให้มีการมอบหมายงานให้ตรงกับตำแหน่งและประสบการณ์ของบุคลากร และเพิ่มค่าตอบแทนให้ตามความสามารถและตำแหน่งหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านวิริยะ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ทันสมัย ให้แก่บุคลากรเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในสถานที่ทำงานให้บุคลากรได้ผ่อนคลายขณะทำงาน สร้างแรงจูงใจด้านบวกให้บุคลากรเพื่อให้งานที่ปฏิบัตินั้นสำเร็จ และจัดอบรม สัมมนา สร้างความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ และสร้างจิตสำนึกรักองค์กร ด้านจิตตะ ควรให้มีการอบรมสมาธิแก่บุคลากรเพื่อให้ทำงานอย่างมีสมาธิ จดจ่ออยู่กับงาน เสริมสร้างจิตสำนึกในการทำงานและให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง และให้มีการวางแผนในการทำงานอย่างเป็นระบบ ใส่ใจกับรายละเอียดต่าง ๆ ของงาน และด้านวิมังสา ให้เวลาในการทำงานที่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อความถูกต้องของงาน และจะทำให้งานมีประสิทธิภาพ ให้มีการตรวจสอบงานที่ทำเสร็จแล้วอย่างถี่ถ้วนทุกครั้งก่อนนำส่งเพื่อป้องกันความผิดพลาด และให้มีการใช้สื่อโซเชียลและการสื่อสารทั่วไปในการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถรับรู้คำสั่งได้อย่างครบถ้วน
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) To study the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages, degrees of education, marital statuses and monthly incomes as differently. 3) To study the suggestion on problem and promotion the application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. This is the quantitative research, The population were composed of officers who work in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in 2018, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, at the reliability 95% got the sample at the number of 196 persons, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test and F test. The results reveal that 1)The application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province by overviews in four aspects are at high level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of Vimamsa is the highest mean and follow up the aspect of Chanda,Viriya and the aspect of Jitta is lowest mean respectively. 2)The comparative result of application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages degrees of education, marital statuses and monthly incomes find that there are not different as statistically significance at .05. 3)The suggestion on promotion for application of Iddhipada Dhamma in work performance of personel in Cha Uad district office, Nakhon Si Thammarat province. The Chanda aspect, to promote live together, training, seminar in organiza-tion for variety of activiyies as more and more,there should put the right man on the right job and experience and addition of compensation according to position . 2. Viriya aspect, to buy modern instrument to staffs for work convenience, to have a good climate in office for motivation in achievement and arrangement of training, seminar and to make understanding and consciousness in organization, 3. Jitta aspect, to train the staffs for stable working, responsible, consciousness and planning as systematically, to regard the detail of work,4. Vimamsa aspect, to have time in rapid work for work righteousness and to make efficiency of work, to check ready work as strictly before submission . and to use the multi media for communication to all.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 196 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์จากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความคิดเห็นต่อการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบว่า บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงานแตกต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงาน โดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พบว่า ควรมีการส่งเสริมให้บุคลากรได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำงานร่วมกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนจูงใจให้บุคลากรมีความเอาใจใส่รับผิดชอบต่อหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ
The objective of this thesis were as follows; 1) to study the application of Sanghavatthu in work performance of the Local Administrative Organization Personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas: infrastructure, quality of life promotion, and management and conservation of natural resources and environment 2) to compare the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel Phuttamonthon district Nakhon Pathom province based on their sex age educational level and work experience, and 3) to propose a guidance on the application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The quantitative data were collected from 196 samples by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage, standard deviation, T-test, F-test, One-way ANOVA and LSD method. The qualitative data were collected by in-depth interview with 5 administrators of Local Administrative Organization in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province. The results of the study found that: 1) The application of Sangkhahawatthu in work performance of the Local Administrative Organization personnel in Phuttamonthon district Nakhon Pathom province in 3 areas was at a high level overall. In details, the highest level was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) From the hypothesis testing, the personnel with different sexes, ages, educational levels, and work experiences had no different levels in the application of Sangkhahawatthu in their performance. 3) The guidelines on the application of Sanghahavatthu in work performance of the local Administrative organization personnel in Phuttamonthon district of Nakhon Pathom province are that the personnel should be encouraged and supported in opinion exchange in work, in hospitality to each other, and in work motivation and responsibility.