Search results

39 results in 0.12s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร กับปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา ในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 159 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Questionnaire) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบสถิติค่าไคสแควร์ (Chi – Square) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มากที่สุด ได้แก่ ด้านรูปแบบประชาธิปไตยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านหลักการประชาธิปไตยอยู่ในระดับปานกลาง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ได้แก่ ด้านอุดมการณ์ประชาธิปไตยอยู่ในระดับน้อย 2) บุคลากรทางการศึกษามีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อความรู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษา เขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาด้านหลักการของประชาธิปไตย ควรให้ความรู้และสร้างค่านิยมในด้านหลักการประชาธิปไตยแก่บุคลากรทางการศึกษา โดยจัดนิทัศการเสนอหลักการของประชาธิปไตยที่ถูกต้อง ด้านรูปแบบประชาธิปไตย ควรจัดกิจกรรมและส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวข้องกับแนวทางของรูปแบบของประชาธิปไตย ด้านอุดมการณ์ คือ บุคลากรทางการจัดสื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้น ให้ไปในทิศทางเดียวกัน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร กับปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา ในเขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 159 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Questionnaire) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบสถิติค่าไคสแควร์ (Chi – Square) ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความเข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยของโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มากที่สุด ได้แก่ ด้านรูปแบบประชาธิปไตยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านหลักการประชาธิปไตยอยู่ในระดับปานกลาง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ได้แก่ ด้านอุดมการณ์ประชาธิปไตยอยู่ในระดับน้อย 2) บุคลากรทางการศึกษามีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกัน มีความสัมพันธ์ต่อความรู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษา เขตตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของบุคลากรทางการศึกษาด้านหลักการของประชาธิปไตย ควรให้ความรู้และสร้างค่านิยมในด้านหลักการประชาธิปไตยแก่บุคลากรทางการศึกษา โดยจัดนิทัศการเสนอหลักการของประชาธิปไตยที่ถูกต้อง ด้านรูปแบบประชาธิปไตย ควรจัดกิจกรรมและส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวข้องกับแนวทางของรูปแบบของประชาธิปไตย ด้านอุดมการณ์ คือ บุคลากรทางการจัดสื่อเทคโนโลยีให้มากขึ้น ให้ไปในทิศทางเดียวกัน
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) to study the knowledge and understanding of democratic rules of educational personnel in Nadi Sub-district, Mueang District, Samut Sakhon Province; 2) to study the relationship between knowledge and understanding of democracy of education personnel in Nadi Sub-district, Mueang District, Samut Sakhon Province, and personal factors; and 3) to study guidelines for promoting knowledge and understanding about democratic governance of educational personnel in Nadi Sub-district, Mueang District, Samut Sakhon Province. The sample group consisted of 159 personnel in educational institutions in Nadi Sub-district, Mueang District, Samut Sakhon Province. Simple random methods were used. The research instruments were questionnaires. The used statistics in data analysis were frequency distribution, percentage, mean and Chi-Square. The results of research were found as follows : 1) Educational personnel had knowledge and understanding of democratic governance of the overall level at a moderate level. When considering each aspect, it was found that the most level was the aspect of the democratic form which was at a high level, followed by a moderate level of the aspect of democratic rules, and the aspect that had the least average value was the democratic ideology which was at the low level. 2) Educational personnel with different sex, age, education level, and operating periods had relationship to knowledge and understanding of democratic rules of personnel in educational institutions in Nadi Subdistrict, Mueang District, Samut Sakhon Province, in total 3 aspects with statistical significance at 0.05. 3) Guidelines for promoting knowledge and understanding of democratic rules of educational personnel on the principles of democracy were as follows : There should educate and create values in democratic principles for educational personnel by organizing demonstration to propose the principles of the right democracy; In the aspect of the form of democracy, there should organize activities and encourage educational personnel, with knowledge related to the ways of democratic forms. In the aspect of the ideology, educational personnel should use more the technology media and In the same direction.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่อง ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีเพศ อายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครอง ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 252 เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดี่ยว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดั้งนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านหลักความเสมอภาค รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านหลักอำนาจอธิปไตย 2) ผลการเปรียบเทียมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีอายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครองต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทาวการแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ 1) ด้านหลักอำนาจอธิปไตย ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจในรายระเอียดของการปกครองให้ได้มากที่สุด 2) ด้านหลักเสรีภาพ ควรส่งเสริมพัฒนาสิทธิเสรีภาพ และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพบุคคลอื่นให้ได้มากที่สุด 3) ด้านหลักความเสมอภาค ควรส่งเสริมพัฒนาให้ทุกคนเข้าถึงการบริการของรัฐในทุกรูปแบบอย่างเท่าเทียมกัน 4) ด้านหลักนิติธรรม ควรส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนกล้าแสดงออกในทุกมิติภายใต้กฎหมายแห่งรัฐ5) ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจถึงอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติต่อเสียงข้างน้อยตามกรอบของรัฐธรรมนูญ
วิทยานิพนธ์เรื่อง ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีเพศ อายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครอง ที่ต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 252 เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดี่ยว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ โดยรวมทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยที่สุด 3 ลำดับ ดั้งนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านหลักความเสมอภาค รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านหลักอำนาจอธิปไตย 2) ผลการเปรียบเทียมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีอายุ ระดับชั้นเรียน และอาชีพผู้ปกครองต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีเพศต่างกัน มีความเข้าใจในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยรวมทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทาวการแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ 1) ด้านหลักอำนาจอธิปไตย ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจในรายระเอียดของการปกครองให้ได้มากที่สุด 2) ด้านหลักเสรีภาพ ควรส่งเสริมพัฒนาสิทธิเสรีภาพ และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพบุคคลอื่นให้ได้มากที่สุด 3) ด้านหลักความเสมอภาค ควรส่งเสริมพัฒนาให้ทุกคนเข้าถึงการบริการของรัฐในทุกรูปแบบอย่างเท่าเทียมกัน 4) ด้านหลักนิติธรรม ควรส่งเสริมพัฒนาให้นักเรียนกล้าแสดงออกในทุกมิติภายใต้กฎหมายแห่งรัฐ5) ด้านหลักการถือเสียงข้างมาก ควรส่งเสริมพัฒนาความเข้าใจถึงอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติต่อเสียงข้างน้อยตามกรอบของรัฐธรรมนูญ
Thesis on Understanding of Democracy of High School Students in Phrai Bueng District Sisaket Province The objectives are as follows: 1) To study the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District. Sisaket Province 2) to study and compare the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District Sisaket Province with gender, age, grade level 3) to suggest guidelines for promoting the understanding of democratic governance of high school students in Phrai Bueng District. Sisaket Province The sample consisted of 252 high school students in Phrai Bueng District, Sisaket Province. The research instruments were questionnaires and interviews. The statistics used for data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation. And t-test, F-test or One-way ANOVA, if differences were found, tested as a pair with the LSD method (Least Significant Difference). The results of research were found as follows : 1) Understanding of the democratic governance of high school students in Phrai Bueng District Sisaket Province, in all 5 areas, overall at a high level When considered individually, they were ordered from the average from the highest to the lowest of the three sequences. Therefore, the side that had the highest mean was the principle of equality, the second was the majority principle And the side with the least average was the principle of sovereignty 2) The comparative results of high school students in Phrai Bueng District, Sisaket Province with grade age And parents are different occupations There were statistically significant differences in the understanding of democratic governance in the five areas at 0.05 level. Understanding the democratic regime as a whole is no different. 3) Suggestions about problems and solutions that are important are 1) the principle of sovereignty. The understanding of the details of government should be promoted as much as possible. 2) Freedom principles Should promote the development of rights and freedoms And does not violate the rights of other persons as much as possible 3) the principle of equality It should promote and develop equal access to all forms of government services. 4) Rule of Law Students should be encouraged to be able to express themselves in all dimensions under state law. The understanding of the power and duties of the minority should be promoted in accordance with the constitutional framework.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556