Search results

88 results in 0.19s

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
The research served the purposes: 1) to study the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. 2) to compare the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province Classified by position, education and work experience. 3) to collect suggestions for the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. The number of sampling groups for conducting the research comprised 100 preschool child guardians, whose preschool children had been enrolled at the center. The samples used in this study were the personnel of the Buddhist Scripture School. Department of General Education In Roi Et. Include administrators, teachers and school board 100. The research instrument for data collection was the Likert-type questionnaire with the Index of Item Objective Congruence : IOC of each question between 0.67 and 1.00, and the reliability for the whole questions at 0.96 Statistics for data analyses embraced frequencies, percentages, standard deviations, F-tests (One-way ANOVA). Results of the research findings: 1. The condition of the academic administration is the participation of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et overall, the mean was very high. The highest average is participatory action secondary decision making participation in consultation participation in planning participation, improvement and development and the lowest is the average participation, monitoring and evaluation. 2. Comparison results Management of participatory academic affairs. The school of scripture ddepartment of general education in Roi Et cclassified by position, education and work experience. Overall, the difference was statistically significant at .05 3. Recommendations for participatory academic management of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et. There should be support and encouragement for personnel and community participation in the management of teaching. Development and use of advanced technology for education and they are ready to create a knowledgeable database of personnel. The system should be monitored, monitored and evaluated. The use of information technology for continuous development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557