Search results

8 results in 0.13s

หนังสือ

    The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
The objectives of this dissertation were; 1) to study the 21st century lifestyle, 2) to study the Buddhist Aesthetics, 3) to integrate the 21st century lifestyle with Buddhist aesthetics, and 4) to propose a new body of knowledge on “The 21st Century Lifestyle based on Buddhist Aesthetics”. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related documents and in-depth interviews with 20 experts. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of research were found that: The 21st century lifestyle is industrial lifestyle, capitalism, consumerism, materialism, and information technology. The modern scientific knowledge was implemented for the better quality of life, but the consumption was not in line with technological purpose because human lacked of realization of the true side and lacked of analytical thinking. There are 5 major problems nowadays; Moral Issue, Social Issue, Economic Issue, Environmental Issue, and Technological Issue. Buddhist Aesthetics is a Buddhist teaching concerning beauty. There are 2 dimensions of beauty; mundane beauty and virtuous beauty. Mundane beauty is the beauty which people normally perceive and concern with. This kind of beauty can be categorized as subjective since it is created under an influence of defilement. The virtuous beauty is the beauty resulting from practice Dhamma and it reflects on acceptable behaviors. This beauty is considered as objective since it is the beauty of Anattatã. The Buddhist teachings on Khanti and Soracca,Tilakkhan, Ditthadhammikattha, Kalayãṇamittatã, and Yonisomanasikãra are considered as the Buddhist Aesthetics because they make the beautiful life when putting into practice. The 5 major problems integrated with the 5 Buddhist teachings result to the beauty as follows; 1) Khanti and Soracca make the mind calm and clear, gain wisdom in cause and effect, and result to a graceful mind. 2) Tilakkhaṇa is to comprehend things as they really are, to gain detachment, hospitality, non-selfishness, and results to a graceful society, 3) Ditthadhammikattha is to work with carefulness, choose to accompany with friends and colleagues, and administrate the finance, which leads to a graceful economy, 4) Kalayãṇamittatã is to be friendly to environment by cherish its value, and conserving the nature, which results to balance and a graceful environment. 5) Yonisomanasikãra is to compromise technology and humanity in the right view, which leads to the true value with the knowledge of civilized people and to a graceful technology. The integration of the major problems with the Buddhist Aesthetics results to the GRACE Model. The model of a beautiful life occurred from virtuous beauty, good behavior, good mind, good wisdom, good thought, good speech, and good action.
TOC:
  • การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัย ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๓) เพื่อบูรณาการการดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์ ๔) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยหลักพุทธสุนทรียศาสตร์” โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทำการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร วิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารทางวิชาการ วิเคราะห์หลักพุทธสุนทรียศาสตร์จากพระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ๒๐ รูป/คน และนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นยุคอุตสาหกรรม วัตถุนิยม บริโภคนิยม ระบบดิจิตอล และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาทำคุณภาพชีวิตให้ดี แต่การบริโภคไม่ตรงตามจุดประสงค์ที่แท้จริงของเทคโนโลยีย่อมให้โทษ ทำให้เกิดปัญหา ๕ ด้าน คือ จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี เพราะมนุษย์ขาดการพิจารณาตามความเป็นจริงและการคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง พุทธสุนทรียศาสตร์ เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าที่ว่าด้วยความงาม มีอยู่ ๒ มิติ คือ ความงามมิติทางโลกและความงามมิติทางธรรม ความงามมิติทางโลกเป็นความงามที่ชาวโลกสมมติขึ้น จัดเป็นจิตพิสัย เพราะเป็นความงามที่เกิดภายใต้อำนาจของกิเลส ส่วนความงามมิติทางธรรมเป็น ความงามจากการปฏิบัติธรรมแสดงออกทางพฤติกรรมทำให้งดงาม จัดเป็นวัตถุพิสัยเพราะเป็นความงามลักษณะอนัตตา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา คือ ขันติ โสรัจจะ ไตรลักษณ์ ทิฏฐธัมมิกัตถะ กัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ หลักธรรมเหล่านี้เป็นพุทธสุนทรียศาสตร์ เมื่อปฏิบัติแล้วย่อมเกิดความงามเป็นผลเสมอ เรียกว่า ชีวิตงาม นำหลักธรรมทั้ง ๕ มาบูรณาการกับปัญหา ๕ ด้าน ทำให้เกิดความงาม คือ ๑) ขันติ โสรัจจะ อดทนอย่างมีสติทำให้จิตใจสงบนิ่ง ไม่ขุ่นมัว เกิดปัญญาเห็นเหตุปัจจัยและโสรัจจะเกิดตามเกื้อกูลทำให้จิตใจงาม ๒) ไตรลักษณ์ การเข้าถึงองค์ความรู้ เห็นตามความเป็นจริงว่าทุกสิ่งมีการเปลี่ยนแปลง คลายความยึดมั่น เกิดเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ไม่เห็นแก่ตัวทำให้สังคมงาม ๓) ทิฏฐธัมมิกัตถะ กิจกรรมในชีวิต อยู่ที่การทำงานมากที่สุดจึงต้องสร้างคุณธรรมควบคู่กับงาน ไม่ประมาท ฉลาดในการคบเพื่อน การบริหารเงินถูกต้อง มีการเงินมั่นคงทำให้เศรษฐกิจงาม ๔) กัลยาณมิตร การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการเห็นคุณค่าและช่วยกันอนุรักษ์ เกิดดุลยภาพต่อกัน ทำให้สิ่งแวดล้อมงาม และ ๕) โยนิโสมนสิการ หล่อหลอมเทคโนโลยีกับมนุษย์ด้วยการคิดถูก รู้คุณค่าแท้เป็นความรู้แห่งอารยชน ทำให้เทคโนโลยีงาม จากผลของความงามทั้ง ๕ ทำให้เกิด GRACE MODEL โมเดลแห่งความงดงามแห่งความดี เกิดพฤติกรรม จิตใจ และปัญญางดงาม ด้วยการคิด พูด ทำ ทุกการกระทำเป็นไปอย่างดี จริง และมีประโยชน์ คือ การดำเนินชีวิตที่งดงาม
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง 2.เพื่อศึกษาหลักพุทธจริยศาสตร์ 3. เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งตามแนวพุทธจริยศาสตร์ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นำชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน ในเขตจังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดชัยนาท จำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง นิยมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่และปลูกผักนานาชนิด และที่ทำจากเครื่องจักสานและการทอผ้าตีนจก เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มที่เป็นเอกลักษณ์ของลาวครั่งไว้จำหน่ายที่ศูนย์เรียนรู้การทอผ้าตีนจกมีการแต่งกายด้วยเสื้อผ้าของชนเผ่าในวาระงานสำคัญต่าง ๆ เช่น งานบวช งานแต่งงาน ส่วนประเพณีที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ได้แก่ การแห่ธงสงกรานต์ การไหว้ผีปู่ตาหรือผีเจ้านาย หรือผีบรรพบุรุษ การฟ้อนรำตามแบบฉบับของกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ชุมชนทำการฟื้นฟูและอนุรักษ์ไว้ หลักพุทธจริยศาสตร์ เป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตเปรียบเสมือนเรือที่มีหางเสือ คอยประคับประครองให้ถึงจุดหมายปลายทางได้ การปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ที่ทำให้เกิดความสงบสุขของชุมชน ความสามัคคี และความเจริญอย่างมั่นคง ได้แก่ศีล 5 กุศลกรรมบท 10 มรรคมีองค์ 8 เป็นต้น การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งตามแนวพุทธจริยศาสตร์ ยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชุมชนเอาไว้ได้ โดยยึดหลักความกตัญญูกตเวทิตา และการปฏิบัติตามหลักของศีล 5 มีการไม่เบียดเบียนกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อยู่ในทำนองคลองทำ พูดจามีประโยชน์ และไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดผิดกฎหมาย แม้ว่าในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะอิทธิพลของเทคโนโลยีที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต ทำให้วัฒนธรรมดั้งเดิมได้สูญหายไปบ้างก็ตาม แต่ชุมชนก็มีการปรับตัวเองให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง 2.เพื่อศึกษาหลักพุทธจริยศาสตร์ 3. เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งตามแนวพุทธจริยศาสตร์ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้นำชุมชนและปราชญ์ชาวบ้าน ในเขตจังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดชัยนาท จำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่ง นิยมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ประกอบอาชีพทำนา ทำไร่และปลูกผักนานาชนิด และที่ทำจากเครื่องจักสานและการทอผ้าตีนจก เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มที่เป็นเอกลักษณ์ของลาวครั่งไว้จำหน่ายที่ศูนย์เรียนรู้การทอผ้าตีนจกมีการแต่งกายด้วยเสื้อผ้าของชนเผ่าในวาระงานสำคัญต่าง ๆ เช่น งานบวช งานแต่งงาน ส่วนประเพณีที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ ได้แก่ การแห่ธงสงกรานต์ การไหว้ผีปู่ตาหรือผีเจ้านาย หรือผีบรรพบุรุษ การฟ้อนรำตามแบบฉบับของกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ชุมชนทำการฟื้นฟูและอนุรักษ์ไว้ หลักพุทธจริยศาสตร์ เป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตเปรียบเสมือนเรือที่มีหางเสือ คอยประคับประครองให้ถึงจุดหมายปลายทางได้ การปฏิบัติตามหลักจริยศาสตร์ที่ทำให้เกิดความสงบสุขของชุมชน ความสามัคคี และความเจริญอย่างมั่นคง ได้แก่ศีล 5 กุศลกรรมบท 10 มรรคมีองค์ 8 เป็นต้น การดำเนินชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งตามแนวพุทธจริยศาสตร์ ยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญของชุมชนเอาไว้ได้ โดยยึดหลักความกตัญญูกตเวทิตา และการปฏิบัติตามหลักของศีล 5 มีการไม่เบียดเบียนกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อยู่ในทำนองคลองทำ พูดจามีประโยชน์ และไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดผิดกฎหมาย แม้ว่าในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะอิทธิพลของเทคโนโลยีที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต ทำให้วัฒนธรรมดั้งเดิมได้สูญหายไปบ้างก็ตาม แต่ชุมชนก็มีการปรับตัวเองให้เข้ากับสมัยปัจจุบัน
This research has the following objectives: 1. to study the lifestyles of Lao Khrang ethnic group, 2. to study Buddhist ethics, and 3. to analyze the lifestyles of Lao Khrang ethnic group according to Buddhist ethics. The populations in this research were 12 community leaders and the local learned in Nakhon Pathom province, Suphanburi province, Uthai Thani province and Chainat Province. The research results were found that: Lifestyles of Lao Khrang ethnic group are to live together in group, work in farming and growing a variety of vegetables and plants for wicker-work and weaving. The unique garments of Lao Khrang are available for sale at Tin Jok weaving Learning Center. Lao Khrang people usually wear their tribal costumes during important events, such as ordination, wedding, etc. The conserved traditions include Songkran flag parade, ancestors’ spirit worship, master ghost worship, and tribal traditional dance. Buddhist ethics is the key to life. Life is similar to a rudder of boat that can support the boat to reach its destination. To follow the ethic principles; the Five Precepts, the Tenfold Way of Good Action and the Eightfold Path, can create peace, happiness, and prosperity of community. Lifestyles of Lao Khrang ethnic group according to Buddhist ethics can still maintain important cultures and traditions of the community based on gratitude and the Five Precepts. They are non-violent, help each other, follow their traditional principles, say the truths and not concerned with drugs and illegal materials. Even now technology has influence to their ways of life and causes some traditional cultures disappear, but Lao Khrang people can adjust themselves to the changes.
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักการดำเนินชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎกตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความที่เกี่ยวกับแนวคิดเรื่องการดำเนินชีวิต แนวปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กันในเรื่องของหน้าที่ของมนุษย์ ในแนวพุทธปรัชญาเถรวาท แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. ชีวิตมนุษย์ เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะในปัจจุบันนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่เข้ามากระทบต่อการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตไม่ว่าแบบใดหากขาดความตระหนักในหน้าที่บทบาทความรับผิดชอบมนุษย์จะปราศจากคุณค่าทันที มนุษย์จะมีชีวิตที่ผาสุขได้ควรมีหลักยึดเหนี่ยวจิตใจในการดำเนินชีวิตไม่ข้องเกี่ยวกับอบายมุข ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของตนเองและปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความเข้าใจรู้ในหน้าที่บทบาทความสัมพันธ์ของคนรอบข้างเป็นสำคัญ 2. หลักทิศ 6 เป็นหลักธรรมที่ บุคคลจะพึงทำหน้าที่ต่อกันด้วยหน้าที่ที่บริสุทธิ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อสังคม ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่สามารถส่งเสริมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้ดีงาม ทั้งในส่วนปัจเจกและส่วนรวม ช่วยให้ปัจเจกบุคคล สามารถดำเนินชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีความสุข และสังคมส่วนรวมก็ดำรงอยู่อย่างปกติสุขด้วยอันมีหน้าที่ 6 ประเภทได้แก่ 1.ทิศเบื้องหน้า บิดามารดา 2. ทิศเบื้องขวา ครูอาจารย์ 3. ทิศเบื้องหลัง ภรรยา 4. ทิศเบื้องซ้าย มิตรอำมาตย์ 5. ทิศเบื้องล่าง ลูกจ้าง ทาส กรรมกร 6. ทิศเบื้องบน สมณะพราหมณ์ 3.การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 เป็นวิธีการส่งเสริมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ถูกต้อง อันมนุษย์พึงปฏิบัติต่อกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิต และสภาพของสังคม ที่แวดล้อมตัวเราดีขึ้น เพราะทุกคนรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่จะพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น ที่ตนเกี่ยวข้องด้วย การดำเนินชีวิตเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยึ่ง ที่จะต้องดำเนินไปให้มีคุณภาพ อาศัยองค์ประกอบของชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาชีวิตให้มีคุณค่า และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักการดำเนินชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎกตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความที่เกี่ยวกับแนวคิดเรื่องการดำเนินชีวิต แนวปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กันในเรื่องของหน้าที่ของมนุษย์ ในแนวพุทธปรัชญาเถรวาท แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. ชีวิตมนุษย์ เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะในปัจจุบันนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่เข้ามากระทบต่อการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตไม่ว่าแบบใดหากขาดความตระหนักในหน้าที่บทบาทความรับผิดชอบมนุษย์จะปราศจากคุณค่าทันที มนุษย์จะมีชีวิตที่ผาสุขได้ควรมีหลักยึดเหนี่ยวจิตใจในการดำเนินชีวิตไม่ข้องเกี่ยวกับอบายมุข ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของตนเองและปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความเข้าใจรู้ในหน้าที่บทบาทความสัมพันธ์ของคนรอบข้างเป็นสำคัญ 2. หลักทิศ 6 เป็นหลักธรรมที่ บุคคลจะพึงทำหน้าที่ต่อกันด้วยหน้าที่ที่บริสุทธิ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อสังคม ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่สามารถส่งเสริมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้ดีงาม ทั้งในส่วนปัจเจกและส่วนรวม ช่วยให้ปัจเจกบุคคล สามารถดำเนินชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีความสุข และสังคมส่วนรวมก็ดำรงอยู่อย่างปกติสุขด้วยอันมีหน้าที่ 6 ประเภทได้แก่ 1.ทิศเบื้องหน้า บิดามารดา 2. ทิศเบื้องขวา ครูอาจารย์ 3. ทิศเบื้องหลัง ภรรยา 4. ทิศเบื้องซ้าย มิตรอำมาตย์ 5. ทิศเบื้องล่าง ลูกจ้าง ทาส กรรมกร 6. ทิศเบื้องบน สมณะพราหมณ์ 3.การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 เป็นวิธีการส่งเสริมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ถูกต้อง อันมนุษย์พึงปฏิบัติต่อกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิต และสภาพของสังคม ที่แวดล้อมตัวเราดีขึ้น เพราะทุกคนรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่จะพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น ที่ตนเกี่ยวข้องด้วย การดำเนินชีวิตเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยึ่ง ที่จะต้องดำเนินไปให้มีคุณภาพ อาศัยองค์ประกอบของชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาชีวิตให้มีคุณค่า และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the principles of living, 2) to study the 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the lifestyle according to the 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy. The data of this qualitative research were collected from the Tipitaka, textbooks, research works, theses, and articles on the concept of living and interrelated practice of human duty in the concept of Theravada Buddhist philosophy.The data were analyzed, summarized and presented in a descriptive method. The study results were found that: 1) Human life is an essential element in development in every dimension in order to cope with the changes in society. Living a life without duty and responsibility concentration can become worthless. Humans can live a happy life by not in connection with causes of ruin. At the same time, they have to realize their own duty and treat the others suitable to their roles and relations. 2) The 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy are the principles that individuals should practice to promote a good human life individually and socially. These principles help make individuals live a happy life and make society establish calmly and normally. The 6 Directions are 6 types of duty; 1. The direction in front refers to duty of parents and children, 2. The direction in the right refers to duty of teachers and students, 3. The direction behind refers to a husband and a wife, 4. The direction in the left refers to the duty of friends and associates, 5. The direction below refers to the duty of workmen and masters, and 6. The upper direction refers to the duty of monks and lay-people. 3) Living a lifestyle according to the 6 Directions is the way to promote the practice of the right duty that humans should treat one another. In daily life, these principles can help improve life quality, social conditions and environments because everyone understands and follows one’s own duty and responsibility. It is necessary to live a life with quality and value for the happiness and peacefulness of oneself and society.
หนังสือ

    รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
Note: รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2563
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • วิถีใหม่ เรื่องราวใหม่
  • ชุมชนนิเวศวิถีรอบโลกทั้ง 14 แห่ง
  • นิเวศวิทยา เป็นอยู่อย่างยั่งยืน
  • เศรษฐกิจมั่งคั่ง ยั่งยืน
  • ชุมชน สานสัมพันธ์ที่ยั่งยืน
  • จิตสำนึก ความยั่งยืนจากด้านใน
  • ขยายผล
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาค 1 สนทนากับปัญญาชราชน
  • ภาค 2 ข้อคิดจากชราชน
  • ภาค 3 ชราชนอ่าน
  • ภาค 4 บุคคลในชีวิตชราชน
  • ภาค 5 เขียนถึงชราชน
หนังสือ