Search results

340 results in 0.08s

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 องค์การ การจัดการ และเครือข่ายวิสาหกิจ
  • บทที่ 1 ระบบสารสนเทศในธุรกิจระดับโลกวันนี้
  • บทที่ 2 การทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกและการทำงานร่วมกัน
  • บทที่ 3 ระบบสารสนเทศ องค์กร และกลยุทธ์
  • บทที่ 4 จริยธรรมและประเด็นทางสังคมในระบบสารสนเทศ
  • ส่วนที่ 2 โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • บทที่ 5 โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีใหม่
  • บทที่ 6 ระบบข้อมูลและการบริหารข่าวสาร
  • บทที่ 7 การสื่อสารโทรคมนาคม อินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีไร้สาย
  • บทที่ 8 การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ
  • ส่วนที่ 3 ระบบแอปพลิเคชั่นในยุคดิจิทัล
  • บทที่ 9 การบรรลุความเป็นเลิศในการดำเนินงานและความสนิทสนมกับลูกค้า : แอปพลิเคชั่นวิสาหกิจ
  • บทที่ 10 อีคอมเมิร์ซ : ตลาดดิจิทัล สินค้าดิจิทัล
  • บทที่ 11 ความรู้ของผู้บริหาร
  • บทที่ 12 การเสริมสร้างการตัดสินใจ
  • ส่วนที่ 4 การสร้างและการบริหารระบบ
  • บทที่ 13 การสร้างระบบสารสนเทศ
  • บทที่ 14 การบริหารโครงการ
  • บทที่ 15 การบริหารจัดการระบบสารสนเทศทั่วโลก
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 เศรษฐศาสตร์กับปัญหาทางเศรษฐกิจ
  • บทที่ 2 การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
  • บทที่ 3 ประเภทของระบบเศรษฐกิจ
  • บทที่ 4 รายได้ประชาชาติ
  • บทที่ 5 การเงิน
  • บทที่ 6 สถาบันการเงิน
  • บทที่ 7 การคลัง
  • บทที่ 8 การคลังท้องถิ่น
  • บทที่ 9 พัฒนการของเศรษฐกิจไทย (1)
  • บทที่ 10 พัฒนาการของเศรษฐกิจไทย (2)
  • บทที่ 11 พัฒนาการของเศรษฐกิจไทย (3)
  • บทที่ 12 พัฒนาการของเศรษฐกิจไทย (4)
  • บทที่ 13 ปัญหาเศรษฐกิจไทยที่สำคัญ
  • บทที่ 14 เศรษฐกิจไทยในยุคโลกาภิวัตน์ (1)
  • บทที่ 15 เศรษฐกิจไทยในยุคโลกาภิวัตน์ (2)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาแนวคิดระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทย 2) ศึกษาแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ 3) วิเคราะห์ปัญหาพุทธจริยศาสตร์ ในระบบอุปถัมภ์ของระบบราชการไทย เป็นการวิจัยเชิงเอกสารแล้ววิเคราะห์ ประมวลผลเนื้อหาว่าระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทยเป็นปัญหาเชิงพุทธจริยศาสตร์หรือไม่อย่างไร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. ลักษณะระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทยมีลักษณะการกระทำในสองลักษณะคือ การกระทำที่เอื้อประโยชน์กันโดยชอบด้วยกฎหมายและการกระทำที่เอื้อประโยชน์กันโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 2. แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ ถือหลักการว่าการจะตัดสินการกระทำใดเป็นสิ่งดีหรือไม่ดีใช้การกระทำหรือกรรมเป็นเครื่องชี้วัด และการกระทำที่จะถือว่าเป็นกรรมได้นั้น จักต้องเป็นการกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา นอกจากนี้ยังพิจารณาถึงสภาพของจิตใจของผู้กระทำ สำนึกมโนธรรม หลักความสันโดษ ความยอมรับของวิญญูชนหรือนักปราชญ์ ผลของการกระทำและหลักของการล่วงละเมิดหลักการแห่งบทบัญญัติศีล 3. เมื่อวิเคราะห์ปัญหาพุทธจริยศาสตร์ ในระบบอุปถัมภ์ของระบบราชการไทยโดยใช้หลักมูลเหตุอันเป็นการส่อถึงเจตนาที่เป็นกุศลมูลหรืออกุศลมูล หลักความสันโดษ หลักมโนธรรมสำนึก หลักการฟังความเห็นหรือพิจารณาความยอมรับของวิญญูชนหรือนักปราชญ์ และหลักพิจารณาลักษณะและผลของการกระทำหรือดูผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นการกระทำในลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายหรือลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทั้งสองลักษณะนี้เป็นสิ่งที่พุทธศาสนา ไม่ยอมรับ ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี เมื่อพิจารณาตามสภาวะว่าเกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ หรือไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ การกระทำในลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย ยังไม่สามารถตัดสินได้ว่าเกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ หรือไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ ส่วนการกระทำลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ เมื่อใช้หลักของการล่วงละเมิดหลักการแห่งบทบัญญัติของศีลในระดับโลกิยะธรรมคือ ศีล 5 พบว่าไม่ล่วงละเมิดศีล ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 อาจละเมิดศีลข้อที่ 4 และไม่ละเมิดศีลข้อที่ 5
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาแนวคิดระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทย 2) ศึกษาแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ 3) วิเคราะห์ปัญหาพุทธจริยศาสตร์ ในระบบอุปถัมภ์ของระบบราชการไทย เป็นการวิจัยเชิงเอกสารแล้ววิเคราะห์ ประมวลผลเนื้อหาว่าระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทยเป็นปัญหาเชิงพุทธจริยศาสตร์หรือไม่อย่างไร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. ลักษณะระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการไทยมีลักษณะการกระทำในสองลักษณะคือ การกระทำที่เอื้อประโยชน์กันโดยชอบด้วยกฎหมายและการกระทำที่เอื้อประโยชน์กันโดยมิชอบด้วยกฎหมาย 2. แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ ถือหลักการว่าการจะตัดสินการกระทำใดเป็นสิ่งดีหรือไม่ดีใช้การกระทำหรือกรรมเป็นเครื่องชี้วัด และการกระทำที่จะถือว่าเป็นกรรมได้นั้น จักต้องเป็นการกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา นอกจากนี้ยังพิจารณาถึงสภาพของจิตใจของผู้กระทำ สำนึกมโนธรรม หลักความสันโดษ ความยอมรับของวิญญูชนหรือนักปราชญ์ ผลของการกระทำและหลักของการล่วงละเมิดหลักการแห่งบทบัญญัติศีล 3. เมื่อวิเคราะห์ปัญหาพุทธจริยศาสตร์ ในระบบอุปถัมภ์ของระบบราชการไทยโดยใช้หลักมูลเหตุอันเป็นการส่อถึงเจตนาที่เป็นกุศลมูลหรืออกุศลมูล หลักความสันโดษ หลักมโนธรรมสำนึก หลักการฟังความเห็นหรือพิจารณาความยอมรับของวิญญูชนหรือนักปราชญ์ และหลักพิจารณาลักษณะและผลของการกระทำหรือดูผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นการกระทำในลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายหรือลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทั้งสองลักษณะนี้เป็นสิ่งที่พุทธศาสนา ไม่ยอมรับ ถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี เมื่อพิจารณาตามสภาวะว่าเกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ หรือไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ การกระทำในลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย ยังไม่สามารถตัดสินได้ว่าเกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ หรือไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ ส่วนการกระทำลักษณะที่เอื้อประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่เกื้อกูลต่อชีวิตจิตใจ เมื่อใช้หลักของการล่วงละเมิดหลักการแห่งบทบัญญัติของศีลในระดับโลกิยะธรรมคือ ศีล 5 พบว่าไม่ล่วงละเมิดศีล ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 อาจละเมิดศีลข้อที่ 4 และไม่ละเมิดศีลข้อที่ 5
The objectives of this thesis were as follows 1) to study concept of patronage system in Thai bureaucracy, 2) to study concept of Buddhist ethics, and 3) to analyze problems in Buddhist ethics in patronage system of Thai government system. It was a documentary research with analysis and content assessment to find out how patronage system in Thai bureaucracy became Buddhist ethical problem. The data were analyzed in descriptive manner. The results of research were found that: 1. Characteristics of patronage system in Thai bureaucratic system were characterized by two types of actions; acts of lawful mutual benefit and acts of unlawful mutual benefit. 2. The concept of Buddhist ethics held the principle of deciding what action was good or bad by using actions or karma as a measure and the act that could be regarded as karma must be an act of intent. It also considered a state of mind of the doer, a sense of conscience, the principle of solitude, an acceptance of wise man or scholar, result of action and the principle of transgression of principles of precepts. 3. when analyzing Buddhist ethical problems in the patronage system of the Thai bureaucracy with the cause that implied wholesome ior unwholesome intention, principle of solitude, principle of conscience, principles of listening to opinions or considering the acceptance of wise man or scholar and the principle of considering nature and consequence of action or its effect on oneself and others whether it was acting in a manner that provided a legitimate interest or an unlawful benefit, these 2 characteristics were things that Buddhism did not accept and It was considered a bad thing. When considering according to the condition whether it was beneficial to the spiritual life or not, acting in a manner that benefited with law still couldn’t judge whether it was contributing to the spiritual life or not. As for the act of unlawful mutual benefit, it was considered unfavorable to one's life. When applying the principle of transgression of the precepts in the secular world, the 5 precepts, it was found that it did not violate the 1st precept, 2nd precept and the 3rd precept. But, it might violate the 4th precept and it again did not violate the 5th precept.
หนังสือ

หนังสือ

    จัดพิมพ์ตามโครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
Note: จัดพิมพ์ตามโครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ