Search results

35 results in 0.32s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ต้องขังหญิงทัณฑสถานหญิงชลบุรีด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิ ๒) เพื่อเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรีของผู้ต้องขังหญิง ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษต่างกัน และ ๓) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิ ทัณฑสถานหญิงชลบุรี วิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) แบบเชิงผสม (Mixed Methods Research) โดยมีประชากร 240 คน และสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 9 คน และนำเสนอด้วยการพรรณาเพื่อตอบวัตถุประสงค์ในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า: การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรีพบว่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน 1) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกาย อยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ย 4.61 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางจิตใจ อยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.38 3) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วาจา อยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.34 สามารถควบคุมจิตใจให้มีสำนึกที่ดี รองลงมาคือด้านวาจาเมื่อได้รับการฝึกจิตอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดกระบวนการที่จะนำไปสู่การควบคุมและพัฒนาตน และด้านจิตใจ มุ่งเน้นพัฒนาทางด้านจิตใจเป็นสำคัญด้วยการปฏิบัติสมาธิ เป็นหลักสำหรับการฝึกทางกาย ทางวาจา ทางใจ ให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป การเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผู้ต้องขังหญิง ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษต่างกัน ไม่มีผลต่อการทำสมาธิ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยหลักสูตรสัคคสาสมาธิ เนื่องด้วยการวิจัยไม่ได้ใช้วิธีการปฏิบัติแยกตามกลุ่มอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษ แต่ใช้วิธีการเดียวกันคือการทำสมาธิแบบเดียวกันตามหลักสูตรสัคคสาสมาธิอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05 การแก้ไขปัญหาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรี เป็นไปตามสมมุติฐานทั้งนี้อภิปรายได้ว่า การที่จะพัฒนาสังคมจึงต้องเริ่มต้นที่การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์เป็นอันดับแรก ผู้ต้องขังมีความสุขสงบคิดได้คิดถูกมีเหตุมีผลเกิดประโยชน์ทั้งแก่ตนเองแก่ครอบครัวสังคมและประเทศชาติ เพื่อคืนคนดีสู่สังคม
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ต้องขังหญิงทัณฑสถานหญิงชลบุรีด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิ ๒) เพื่อเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรีของผู้ต้องขังหญิง ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษต่างกัน และ ๓) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิ ทัณฑสถานหญิงชลบุรี วิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) แบบเชิงผสม (Mixed Methods Research) โดยมีประชากร 240 คน และสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 9 คน และนำเสนอด้วยการพรรณาเพื่อตอบวัตถุประสงค์ในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า: การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรีพบว่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน 1) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกาย อยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ย 4.61 2) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางจิตใจ อยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.38 3) ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วาจา อยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉลี่ย 4.34 สามารถควบคุมจิตใจให้มีสำนึกที่ดี รองลงมาคือด้านวาจาเมื่อได้รับการฝึกจิตอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดกระบวนการที่จะนำไปสู่การควบคุมและพัฒนาตน และด้านจิตใจ มุ่งเน้นพัฒนาทางด้านจิตใจเป็นสำคัญด้วยการปฏิบัติสมาธิ เป็นหลักสำหรับการฝึกทางกาย ทางวาจา ทางใจ ให้เจริญงอกงามยิ่งขึ้นไป การเปรียบเทียบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผู้ต้องขังหญิง ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษต่างกัน ไม่มีผลต่อการทำสมาธิ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยหลักสูตรสัคคสาสมาธิ เนื่องด้วยการวิจัยไม่ได้ใช้วิธีการปฏิบัติแยกตามกลุ่มอายุ ระดับการศึกษา และชั้นโทษ แต่ใช้วิธีการเดียวกันคือการทำสมาธิแบบเดียวกันตามหลักสูตรสัคคสาสมาธิอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05 การแก้ไขปัญหาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ต้องขังหญิงด้วยสมาธิในหลักสูตรสัคคสาสมาธิในทัณฑสถานหญิงชลบุรี เป็นไปตามสมมุติฐานทั้งนี้อภิปรายได้ว่า การที่จะพัฒนาสังคมจึงต้องเริ่มต้นที่การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์เป็นอันดับแรก ผู้ต้องขังมีความสุขสงบคิดได้คิดถูกมีเหตุมีผลเกิดประโยชน์ทั้งแก่ตนเองแก่ครอบครัวสังคมและประเทศชาติ เพื่อคืนคนดีสู่สังคม
The objectives of this research were: 1) to study the behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Sãggãsã Sãmãdhi Course, 2) to compare the behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Saggasa Samadhi Course having different age, educational level and penalty duration, and 3) to study suggestions about problems and solutions on behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Sãggãsã Sãmãdhi Course. The mixed research methodology was used in this study. The data were collected by questionnaires from the 240 subjects and by in-deoth interviews with 9 key-informants. The results of the study were presented in a descriptive method. The results of the research showed that: There was behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Saggasa Samadhi Course in 3 aspects as follows; 1) the most changing was on bodily behavior with average level at 4.61, 2) the behavior changing in thought was at 4.38, and 3) the behavior changing in speech was at 4.34 respectively. The comparison results of the behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Sãggãsã Sãmãdhi Course having different age, educational level and penalty duration were not significantly different since the whole subjects were trained with the Sãggãsã Sãmãdhi Course at the same time. The solution and correction on behaviour changing of female inmates in Chonburi Female Prison by Sãggãsã Sãmãdhi Course indicated was in line with the study hypothesis. This indicated that social development is based on the development of human behaviors. The inmates are happy, calm, and reasonable. They are still beneficial to themselves, their family, society and the nation. They can return to the society as the good ones.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประชากร คือ ผู้ต้องขังในเดือนเมษายน 2563 จำนวน 6,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 361 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบลำดับชั้น (Stratified Random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัย พบว่า : 1. ผู้ต้องขังมีการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านสมานัตตตา มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาได้แก่ ด้านอัตถจริยา ส่วนด้านทาน มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ลักษณะฐานความผิด และแดนควบคุม พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ด้านทาน มากที่สุด ได้แก่ ผู้ต้องขังมีพฤติกรรมเห็นแก่ตัว ขาดการแบ่งปัน ขาดการเสียสละ และ ขาดรายได้ทางการเงินในการใช้สอย รองลงมา ด้านปิยวาจา ได้แก่ ผู้ต้องขังใช้วาจาไม่สุภาพ หยาบคาย เสียดสี ผู้ต้องขังอยู่ในสังคมต่างวัฒนธรรม ต่างภาษากัน ส่วนด้านสมานัตตตา ได้แก่ พฤติกรรมส่วนบุคคลของผู้ต้องขังที่ไม่รู้จักหน้าที่ ไม่ชอบอยู่ในกฎระเบียบ ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคน้อยที่สุด 3. แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบว่า จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูล ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ การจัดโครงการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาอุปนิสัย โดยเจ้าหน้าที่หรือเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้เพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนคุณธรรมจริยธรรม สอดแทรกกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยให้เกิดความคิดช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มุ้งเน้นเรื่องการสงเคราะห์ผู้อื่นให้เพิ่มขึ้น สร้างความรู้สึกที่ดีต่อปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในเรือนจำ
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประชากร คือ ผู้ต้องขังในเดือนเมษายน 2563 จำนวน 6,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 361 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบลำดับชั้น (Stratified Random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัย พบว่า : 1. ผู้ต้องขังมีการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านสมานัตตตา มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาได้แก่ ด้านอัตถจริยา ส่วนด้านทาน มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ลักษณะฐานความผิด และแดนควบคุม พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ด้านทาน มากที่สุด ได้แก่ ผู้ต้องขังมีพฤติกรรมเห็นแก่ตัว ขาดการแบ่งปัน ขาดการเสียสละ และ ขาดรายได้ทางการเงินในการใช้สอย รองลงมา ด้านปิยวาจา ได้แก่ ผู้ต้องขังใช้วาจาไม่สุภาพ หยาบคาย เสียดสี ผู้ต้องขังอยู่ในสังคมต่างวัฒนธรรม ต่างภาษากัน ส่วนด้านสมานัตตตา ได้แก่ พฤติกรรมส่วนบุคคลของผู้ต้องขังที่ไม่รู้จักหน้าที่ ไม่ชอบอยู่ในกฎระเบียบ ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคน้อยที่สุด 3. แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบว่า จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูล ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ได้แก่ การจัดโครงการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาอุปนิสัย โดยเจ้าหน้าที่หรือเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้เพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนคุณธรรมจริยธรรม สอดแทรกกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยให้เกิดความคิดช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มุ้งเน้นเรื่องการสงเคราะห์ผู้อื่นให้เพิ่มขึ้น สร้างความรู้สึกที่ดีต่อปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในเรือนจำ
The objectives of this thematic paper were as follows 1) to study the integration of Buddha dhamma principles of prisoners in Nakhon Si Thammarat central jail. 2) to study problems and obstacles the integration of Buddha dhamma principles of prisoners in Nakhon Si Thammarat central jail. 3) to study the resolution on problems and obstacles the integration of Buddha dhamma principles of prisoners in Nakhon Si Thammarat central jail. This is the mixed methods research, including quantitative research, the population were prisoners in April 2020 for 6,286 people, sample size according to Krejcie and Morgan’s table measurement, the samples were about 361 people, by stratified random sampling, the research instrument for data collection was questionnaire, both closed and open ended question, the statistics were used as follows; frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and qualitative research, the key informants were about 12 persons, purposive random sampling, the instrument for data collection was interview form, and then used to analyze the content for the context. The findings were as follows : 1. Prisoners have the integration of Buddha dhamma principles in Nakhon Si Thammarat central jail overall, It is at more level for all aspects when considered in each aspect by sorted in descending order of average found that the aspect of Samanattata : even and equal treatment the most average and followed by Atthacariya : useful conduct that and the aspect of Dana : giving the least average, when classified in terms of sexes, ages, degrees of educations, nature of the offense and control boundary found that there are at more level by including. 2. Problems and obstacles the integration of Buddha dhamma principles of prisoners in Nakhon Si Thammarat central jail, It was found that the respondents expressed their opinions about problem and obstacles are Dana : giving as prisoners have selfish behavior, lack of sharing, lack of sacrifice and lack of financial income and followed by Piyavaca : kindly prisoners speech are impolite, vulgar, sarcastic, prisoners live in society different cultures and language that the aspect of Samanattata : even and equal treatment as personal behavior of prisoners that unknown responsibility, break the rules are the least respondents commented on problems and obstacles. 3. The resolution on problems and obstacles for the integration of Buddha dhamma principles of prisoners in Nakhon Si Thammarat central jail, It was found that from in-depth interviews with informants commented on solutions to problems and obstacles as follows : organizing a training program on character development by staff or by inviting external speakers come to educate to promote and increase morals and ethics, Insert various activities that help create ideas of helping each other, Focuses more on helping others, create a feeling of good behavior in the prison.
หนังสือ

    การวิจัย เรื่องการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1.เพื่อศึกษาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ต้องขังภายในเรือนจำกลางคลองเปรม จำนวน 364 คน ซึ่งกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) และได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามโดยอธิบายเหตุผลและวิธีการตอบและรับแบบสอบถามกลับคืนมาเพื่อทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติทางคอมพิวเตอร์ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentages) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติอนุมาน หรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ ค่ t-test และ One -Way ANOVA โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู๋ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ได้แก่ ด้านสิทธิในการติดต่อสื่อสารมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา คือ ด้านสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลมีค่าเฉลี่ยอยู่ และด้านสิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ต้องขังที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพก่อนต้องโทษที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานครโดยรวมทั้ง 3 ด้านได้แก่ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจและ3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ไม่แตกต่างกัน 3) ผู้ต้องขังได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล ควรเพิ่มบุลคากรทางการแพทย์เพื่อลดระยะเวลาการเข้าพบแพทย์ 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจ ควรเพิ่มกิจกรรมและฝึกอบรมทางศาสนาให้มากขึ้น 3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ควรเพิ่มระยะเวลาในการเยี่ยมญาติผ่าน video conference 25-30 นาที ต่อ/คน
การวิจัย เรื่องการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1.เพื่อศึกษาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร 2.เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสิทธิของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ต้องขังภายในเรือนจำกลางคลองเปรม จำนวน 364 คน ซึ่งกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยวิธีการเปิดตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) และได้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน(Multi Stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามโดยอธิบายเหตุผลและวิธีการตอบและรับแบบสอบถามกลับคืนมาเพื่อทำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติทางคอมพิวเตอร์ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ(Percentages) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน ด้วยสถิติอนุมาน หรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ ค่ t-test และ One -Way ANOVA โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู๋ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ได้แก่ ด้านสิทธิในการติดต่อสื่อสารมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา คือ ด้านสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลมีค่าเฉลี่ยอยู่ และด้านสิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจมีค่าเฉลี่ยต่ำสุดตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ต้องขังที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพก่อนต้องโทษที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการศึกษาสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานครโดยรวมทั้ง 3 ด้านได้แก่ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจและ3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ไม่แตกต่างกัน 3) ผู้ต้องขังได้เสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจำกลางคลองเปรม กรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.สิทธิได้รับการรักษาพยาบาล ควรเพิ่มบุลคากรทางการแพทย์เพื่อลดระยะเวลาการเข้าพบแพทย์ 2.สิทธิในการนับถือศาสนาและปฏิบัติศาสนกิจ ควรเพิ่มกิจกรรมและฝึกอบรมทางศาสนาให้มากขึ้น 3.สิทธิในการติดต่อสื่อสาร ควรเพิ่มระยะเวลาในการเยี่ยมญาติผ่าน video conference 25-30 นาที ต่อ/คน
Research on the study of the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok It is a quantitative research. (Quantitative Research) with the following objectives: 1. To study the rights of inmates in Klong Prem Central Prison. Bangkok 2. To compare the opinions of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok with gender, age, education level and different professions 3. To suggest solutions to the problem of the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok The sample group used in this research was 364 inmates in the Klong Prem Central Prison, which determined the sample size. with Krejcie & Morgan's ready-made table opening method and multi-stage random sampling was used. Tools used for data collection were questionnaires by explaining reasons and methods of answering and receiving questionnaires back in order to verify the integrity of the data and then analyze them. to be processed using a computer statistical package. and the statistics used in the analysis These were descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing. with inferential statistics, such as t-test and One-Way ANOVA, with the following details. research results 1) A study on the rights of inmates in the Khlong Prem Central Prison Bangkok Overall, it is at a moderate level. When considering each aspect, it was found that It was at a moderate level in all aspects, namely, the right to communicate with the highest average, followed by the right to receive medical care with an average. and the right to religious and religious practice had the lowest average respectively. 2) The results of comparison revealed that the inmates with sex, age, education level and the pre-occupation with different penalties Opinions on the education of inmates in the Klong Prem Central Prison Bangkok, including 3 aspects: 1. Rights to receive medical treatment 2. The right to practice religion and practice and 3. The right to communicate. no different. 3) Inmates made recommendations on the rights of inmates in the Klong Prem Central Prison. Bangkok as follows: 1. The right to receive medical treatment More medical personnel should be added to reduce the time of visits to the doctor. 2. The right to practice religion and practice religion More religious activities and training should be added. 3. The right to communicate Should increase the time to visit relatives via video conference 25-30 minutes perperson / person
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(กศ.ม)--มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2553
ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(กศ.ม)--มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550