Search results

21 results in 0.12s

หนังสือ

    ที่ระลึกงานบำเพ็ญบุญกุศลคล้ายวันเกิด พระอุดมฐาณโมลี (มานิต ถาวโร ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม 29 ธ้นวาคม 2534
ที่ระลึกงานบำเพ็ญบุญกุศลคล้ายวันเกิด พระอุดมฐาณโมลี (มานิต ถาวโร ป.ธ.9) เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม 29 ธ้นวาคม 2534
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • เขานั้น ทั้งรู้เขารู้เรา แต่เรานี้ ไม่รู้ทั้งเราทั้งเขา
  • ชาวพุทธไทย ปฏิบัติธรรมกันอย่างไร? ให้คนข้างนอกเขาเอาไปดูถูกได้
หนังสือ

    กองทุนกรรมฐานวัดโสมนัสวิหาร จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ ในการบำเพ็ญกุศล ครบรอบ 71 ปี พระธรรมวิสุทธิกวี
กองทุนกรรมฐานวัดโสมนัสวิหาร จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ ในการบำเพ็ญกุศล ครบรอบ 71 ปี พระธรรมวิสุทธิกวี
หนังสือ

    กองทุนกรรมฐานวัดโสมนัสวิหาร จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ ในการบำเพ็ญกุศล ครบรอบ ๗๑ ปี พระธรรมวิสุทธิกวี
กองทุนกรรมฐานวัดโสมนัสวิหาร จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ ในการบำเพ็ญกุศล ครบรอบ ๗๑ ปี พระธรรมวิสุทธิกวี
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัย ๑) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ของชาวพุทธ ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ๓) เพื่อวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน ๕๐ คน และกระบวนการกลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๖ คน นำมารวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑. ผลการศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธ แก่นพระศาสนาโดยการเข้าถึงสาระแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ถือหลักคิดดี พูดดี ทำดี และสามารถเข้าถึงทั้งด้วยการทำบุญให้ทาน การรักษาศีล การเจริญภาวนาตามลำดับ และที่สำคัญคือการปฏิบัติตามหลักการของพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เรียกว่า “โอวาทปาติโมกข์” พระโอวาทที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาในโอวาทปาติโมกข์นั้น มีหลักการสำคัญที่ทรงวางไว้เป็นหลักทั่วไป ๓ ประการ คือสอนไม่ให้ทำความชั่วทั้งปวง (ละเว้นชั่ว) สอนให้อบรมกุศลให้ถึงพร้อม (ประกอบความดี) สอนให้ทำจิตใจของตนให้ผ่องใส (ทำจิตผ่องใส) ไตรสิกขา กุศลกรรมบถ ๑๐ และธรรมกถึก ๕ การพยายามทำตามคำสอน ในหลักการนี้เป็นการพยายามทำความดีที่เรียกว่าทำบุญ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงวัตถุที่ ตั้งแห่งการทำบุญไว้โดยย่อเรียกว่า “บุญกิริยาวัตถุ” มี ๓ ประการ คือ ทานการบริจาคสิ่งของตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ศีลการรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อยไม่ล่วงบัญญัติที่ทรงห้ามภาวนาการอบ รมจิตใจให้ผ่องใสในการกุศลบุญกิริยาวัตถุ และหลักการปฏิบัติของพุทธบริษัท ๔ ได้แก่ ๑) ภิกษุและภิกษุณี มีหน้าที่ศึกษาพระธรรมวินัยและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน แล้วนำธรรมะมาสั่งสอนแนะนำให้ผู้อื่นรู้ตามเห็นตาม ส่งเสริมวิธีการประพฤติปฏิบัติข้อวัตรที่ถูกต้อง ๒) อุบาสกและอุบาสิกาเป็นผู้ใกล้ชิดพุทธศาสนามีหน้าที่ศึกษาประพฤติปฏิบัติตามคำสอนและเป็นผู้ทำนุบำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ๒.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัย ๑) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ของชาวพุทธ ๒) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ๓) เพื่อวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มเป้าหมายแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน ๕๐ คน และกระบวนการกลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๖ คน นำมารวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ๑. ผลการศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธ แก่นพระศาสนาโดยการเข้าถึงสาระแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ถือหลักคิดดี พูดดี ทำดี และสามารถเข้าถึงทั้งด้วยการทำบุญให้ทาน การรักษาศีล การเจริญภาวนาตามลำดับ และที่สำคัญคือการปฏิบัติตามหลักการของพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เรียกว่า “โอวาทปาติโมกข์” พระโอวาทที่เป็นหลักของพระพุทธศาสนาในโอวาทปาติโมกข์นั้น มีหลักการสำคัญที่ทรงวางไว้เป็นหลักทั่วไป ๓ ประการ คือสอนไม่ให้ทำความชั่วทั้งปวง (ละเว้นชั่ว) สอนให้อบรมกุศลให้ถึงพร้อม (ประกอบความดี) สอนให้ทำจิตใจของตนให้ผ่องใส (ทำจิตผ่องใส) ไตรสิกขา กุศลกรรมบถ ๑๐ และธรรมกถึก ๕ การพยายามทำตามคำสอน ในหลักการนี้เป็นการพยายามทำความดีที่เรียกว่าทำบุญ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงวัตถุที่ ตั้งแห่งการทำบุญไว้โดยย่อเรียกว่า “บุญกิริยาวัตถุ” มี ๓ ประการ คือ ทานการบริจาคสิ่งของตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ศีลการรักษากายวาจาให้สงบเรียบร้อยไม่ล่วงบัญญัติที่ทรงห้ามภาวนาการอบ รมจิตใจให้ผ่องใสในการกุศลบุญกิริยาวัตถุ และหลักการปฏิบัติของพุทธบริษัท ๔ ได้แก่ ๑) ภิกษุและภิกษุณี มีหน้าที่ศึกษาพระธรรมวินัยและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน แล้วนำธรรมะมาสั่งสอนแนะนำให้ผู้อื่นรู้ตามเห็นตาม ส่งเสริมวิธีการประพฤติปฏิบัติข้อวัตรที่ถูกต้อง ๒) อุบาสกและอุบาสิกาเป็นผู้ใกล้ชิดพุทธศาสนามีหน้าที่ศึกษาประพฤติปฏิบัติตามคำสอนและเป็นผู้ทำนุบำรุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา ๒.
ผลการศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเรื่องการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประ ชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด อุบาสก อุบาสิกาปฏิบัติหน้าที่ของชาวพุทธตามทัศนะของประชา ชนยึดตามหลักประเพณีปฏิบัติเป็นสำคัญ ส่วนภิกษุในพระพุทธศาสนามีหน้าที่ศึกษาปฏิบัติธรรมเผยแผ่คำสอนสืบต่อพระพุทธศาสนา มีคุณธรรมและหลักความประพฤติที่ต้องปฏิบัติมากมาย แต่ในที่นี้จะแสดงไว้เฉพาะหน้าที่ที่สัมพันธ์กับคฤหัสถ์ และข้อเตือนใจในทางความประพฤติปฏิบัติ อนุเคราะห์ชาวบ้าน ภิกษุ อนุเคราะห์คฤหัสถ์ตามหลักปฏิบัติในฐานะที่ตนเป็นเสมือน ทิศเบื้องบน ห้ามปรามสอนให้เว้นจากความชั่ว แนะนำสั่งสอนให้ตั้งอยู่ในความดี ส่วนหน้าที่ของ อุบาสก อุบาสิกา พุทธ ศาสนิกชนมีหลักปฏิบัติที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตนกับพระพุทธศาสนา เกื้อกูลพระโดยปฏิบัติต่อพระ ภิกษุเสมือนเป็นทิศเบื้องบน จะทำสิ่งใดก็ทำด้วยเมตตา จะพูดสิ่งใดก็พูดด้วยเมตตา จะคิดสิ่งใดก็คิดด้วยเมตตา ต้อนรับด้วยความเต็มใจ อุปถัมภ์ด้วยปัจจัย ๔ กระทำบุญ คือ ทำความดีด้วยวิธีการต่างๆ ที่เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ และทำบุญด้วยการให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการทำความดี ปัตตานุโมทนามัยทำ บุญด้วยการพลอยยินดีในการทำความดีของผู้อื่น ธัมมัสสวนมัย ทำบุญด้วยการฟังธรรม ศึกษาหาความรู้ที่ปราศจากโทษ ธัมมเทสนามัย ทำบุญด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ทิฏฐุชุ กรรม ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ถูกต้อง รู้จักมองสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริงให้เป็นสัมมาทิฏฐิ คุ้นเคยใกล้ชิดกับพระศาสนา ถ้าจะปฏิบัติให้เคร่งครัดยิ่งขึ้น ถึงขั้นเป็นอุบาสก อุบาสิกา คือผู้ใกล้ชิดพระศาสนาอย่างแท้จริง ๓. ผลการวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตามทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด หน้าที่ชาวพุทธศาสนิกชนยึดถือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลักในการดำรงชีวิตคือเรียน รู้ธรรมะ อริยสัจ ๔ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา ต้องรู้จักกฎไตรลักษณ์ คืออนิจจัง ทุกขังและอนัตตา รู้จักศีล ๕ ปฏิบัติธรรม เผยแพร่ธรรมะ เพราะพุทธธรรมเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้า การเผยแพร่ธรรมะและปกป้องพุทธศาสนารักษา มรดกอันล้ำค่าไว้ให้แก่มวลมนุษย์นั่นคือหลักธรรม อันเป็นสิ่งที่นำมาปรับใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย พวกเราต้องทำตนเป็นชาวพุทธที่ดีและการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธที่ดีคือ ศึกษาหาความรู้ ปฏิบัติตามหลักธรรมและรักษาประเพณีพิธีกรรมทางศาสนาให้ถูกต้อง
The thesis served its particular purposes: 1) to study key portions of Theravada Buddhist philosophy on Buddhists’ duties, 2) to study Theravada Buddhist philosophy on their duties following concepts of Buddhist residents in Roi Et Provincial Municipality’s authorized area, 3) to analyze their duties following their concepts. It was derived from the quantitative research methodology. Data were collected from such secondary sources as relevant texts, in-depth interviews, and group discussions. Samples were fifty residents, excluding six residents from the process of group discussions. Findings were analyzed with the descriptive method. Results of the study have found: 1) Accessing Buddhism’s essence can be able to do by three meritorious actions of generosity, precept observance and mental development respectively. The practice complies with the Buddha’s three key teachings (Ovadapatimokkha), not to do any evil, to do good deeds and purify one’s mind. Other key teachings are Threefold Trainings, and Five qualities of a preacher. In a bid to follow these teachings, it amounts to making merits by making three meritorious actions, which are offering their own belongings for benefits of other, regulating one’s body and mind by not violating the code of conducts prohibited by the Buddha. Buddhists’ duties are divided into two headings according to their practice. Buddhist monks’ and nuns’ main duties focus on studying dharma and codes of conducts, and undertaking insight development in order to teach others. Male and female Buddhists’ duties are following the Buddha’s teahings, becomes strong supporters of Buddhism. 2) Buddhists’ duties according to Buddhist residents’ concepts in Roi Et provincial Municipality’s authorized area have found that Buddhist monks’ duties are studying, practicing dharma, disseminating it, maintaining Buddhism, possessing ethics and decent codes of conducts. Generally, Buddhist monks acting as the upper direction in Buddhism should assist lay disciples preventing them from doing evil deeds, only encouraging them to do good ones. For lay Buddhists’ duties, they have to have close relations with Buddhism. They should treat Buddhist monks as if they are the upper direction in Buddhism by treating them by kindly act, kindly words, kindly thoughts, keeping open house to them, and supplying them with four material needs. Buddhist monks should encourage lay Buddhists to make three merits, called meritorious actions, through three different methods by having others share in making merits, rejoicing in others’ merits, listening to dharma to non-perilous knowledge, teaching dharma to give useful instructions, straightening ones’ views to make them realize things as they really are until they have right views. In so doing, they have close relation with Buddhism. In case of their more stringent practices, they can attain states of close figures to the extent that they really become devout lay disciples of Buddhism. 3) Results of analyses on Buddhists’ duties based on concepts of Buddhist residents in Roi Et Provincial Municipality’s authorized area are divided into three issues. First, they must strictly follow the Buddha’s teachings as the refuge for leading their everyday life by studying such teachings as Four Noble Truths in order to find solutions to the problems. Secondly, they must comprehend Three Characteristics. Finally, they must observe five precepts and disseminate the Buddha’s teachings as his teachings, are regarded as his representative. To put it simply, dissemination of dharma and protection of Buddhism amount to maintaining invaluable heritage, rule of dharma, for all human beings, which it can be applied in every age. As a result, we Buddhists should behave ourselves well and perform our good duties as Buddhists, concretely studying Buddhism, and preserving Buddhism and its rites.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    รายงานการวิจัย โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการวิจัยเชิงคุณภาพ สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2548
รายงานการวิจัย โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการวิจัยเชิงคุณภาพ สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2548
หนังสือ