Search results

32 results in 0.18s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 103 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 86 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 344 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม 2. การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การแนะแนว ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x4) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x1) และด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (X3) สามารถร่วมกันทำนายการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ได้ร้อยละ 32.6
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 103 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 86 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 344 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม 2. การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การแนะแนว ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x4) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x1) และด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (X3) สามารถร่วมกันทำนายการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ได้ร้อยละ 32.6
The objectives of the study were: 1) to study participative leadership integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles of school administrators under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area, 2) to study the academic administration in schools under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area and, 3) to study participative leadership integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles of school administrators affecting the academic administration in schools under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area. The population of this study consisted of 103 schools. The sample of the study was 86 schools. A sample was selected from 344 students consisted of school administrators and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are the descriptive statistics which is of the frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis The results of the research were as follows: 1. The leadership with Integrative participatory Adhitthãna-Dhamma Principles of executives educational institutions in overall was at the highest level and each side was at the highest level in every aspects by the average from high to low that participation in the integrated Adhitthãna-Dhamma Principles, participation in integrated evaluation of Adhitthãna-Dhamma Principles, participation in integrated decision-making in Adhitthãna-Dhamma Principles. The least average part was the participation in receiving benefits for Integrative Adhitthãna-Dhamma Principles. 2. Academic Administration in overall was at the highest level and each side was at the highest level in every aspect by the average from high to low that the development of the internal quality assurance system, the educational standards, the curriculum development of the guidance academy. The least average was at the research to improve educational quality. 3. The leadership with integrative participatory Adhitthãna-Dhamma Principles of executives’ educational institutions under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area. participation in evaluation Integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (x4), participation in decision-making integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (x1), and participation in receiving benefit integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (X3) can jointly predict the academic administration of the school administrators at 32.6 percent.
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 2) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค 3) ประเมินและรับรองรูปแบบภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาคเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน(Mixed Methoods Research) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 จำนวน 368 คน เครื่องมือวิจัยใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน และแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 เพื่อเสริมสร้างการบริหารการศึกษาแบบเสมอภาค จากแนวคิดทฤษฎีและการสัมภาษณ์ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ 51 ตัวแปร มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยเรียงลำดับ 9 องค์ประกอบหลักได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 2) ผลการประเมินรูปแบบผู้นำแบบบารมีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ไค-สแควร์ (X)2 หรือ (P≤ 0.05) เท่ากับ 0.562 ค่า GFI = 0.93, และค่า RMSEA = 0.034 ได้องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบ จำแนกได้ดังนี้ 1) มีวิสัยทัศน์ 2) มีความสามารถในการตัดสินใจ 3) แสดงความเชื่อมั่นในตนเอง 4) มุ่งเน้นผลการปฏิบัติการ 5) การเป็นแรงบันดาลใจ 6. การกระตุ้นให้ใช้สติปัญญา 7) ความยุติธรรม 8) การยึดหลักคุณธรรมและซื่อสัตย์ 9) การมีมนุษยธรรม 3) ผลการประเมินและรับรองผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 23 คน พบว่า ด้านความถูกต้อง ด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ และด้านความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.68 – 4.77) และผ่านเกณฑ์ในการรับรองตามที่กำหนด และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีความเห็นสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน
This dissertation has the following objective; 1. to study the composition of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, 2. to develop the model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration, and 3. to evaluate and certify the charismatic leadership model of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration. The samples of this mixed method research were 368 personnel in schools under the Secondary Educational Service Area 29. The research tools were semi-stuctured interviews and questionnaires. The data were analyzed by percentage, frequency, standard deviation, statistics software packages and composition analysis. The research results were found that: 1. The charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration consists of 9 sketch components and 51 variables. The nine components are; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 2. The development model of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was relevant to the empirical data with Chi-square (X)2 or (P≤ 0.05) = 0.562, GFI = 0.93, and RMSEA = 0.034. That resulted to 9 main components; 1) visionary, 2) decisive, 3) self-confidence, 4) performance oriented, 5) inspiration, 6) intellectual stimulating, 7) fair, 8) integrity, and 9) humane. 3. The model of development of charismatic leadership of basic education administrators in schools under the Secondary Educational Service Area 29 for strengthening equal education administration was evaluated and certified by 23 experts in Accuracy, Propriety, Feasibility, and Utility at the highest level overall (4.68-4.77). The evaluation result was above the certified criteria and the result of focus group discussions was also in the same direction.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎี 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ จำนวน 30,719 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 580 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัยจำนวน 60 ตัวบ่งชี้ได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลเชิงทฤษฎีทุกตัว เนื่องจากทุกตัวบ่งชี้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% 2) โมเดลเชิงทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square : CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Root Mean Square Error of Approximation : RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness-of-Fit Index : GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว Adjusted Goodness-of-Fit Index : AGFI ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index : CFI) และ ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (Normed Fit Index : NFI) ที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.89-1.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ทุกองค์ประกอบหลัก ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.61-1.29 และมีค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.21 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 31,026 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 580 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of Relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) adjusted goodness of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.89 to 1.46, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.61 to 1.29 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.21, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • มโนทัศน์ของการบริหารและภาวะผู้นำ
  • ทฤษฎีภาวะผู้นำ
  • รูปแบบภาวะผู้นำ
  • อิทธิพลของรูปแบบภาวะผู้นำต่อผู้บริหารการศึกษา
  • พฤติกรรมภาวะผู้นำ
  • พฤติกรรมในโรงเรียนในฐานะสถาบันและการบังคับบัญชา
  • ความหมายและประเภทของการตัดสินใจ
  • ระเบียบวิธีในการตัดสินใจในสถาบันการศึกษา
  • แม่แบบการตัดสินใจ
  • การบริหารบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน
  • การจูงใจบุคลากรในโรงเรียน
  • การประเมินผลการปฏิบัติงาน
  • องค์การรูปนัยและอรูปนัย
  • ความต้องการขององค์การและมนุษย์
  • มโนทัศน์ของบรรยากาศในโรงเรียน
  • การวัดบรรยากาศในโรงเรียน
  • ปัญหาปัจจุบันในการบริหารโรงเรียน
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่อมยปัญญาและภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธเท่ากับ 0.96 และ 0.81 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนปัจจัยมยปัญญาไม่มีค่าอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ทั้งนี้ ปัจจัยเชิงสาเหตุทั้งสามตัวร่วมกันอธิบายภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ได้ร้อยละ 0.96
The objectives of this research were: 1) to study and compare the level of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University, 2) to study and compare the level of behaviors in factors influencing moral and ethical leadership based on Buddhism of the administrators in Mahamakut Buddhist University, 3) to examine the consistence of the developed structural equation model of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University and the empirical data, and 4) to study the size of influence of casual factors affecting moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University. This research was used by the quantitative research method. The 434 samples used in the study were obtained by simple random sampling. The instrument used to collect data was the questionnaire with the rating scale of leadership and causal factors having reliability coefficient at 0.97 and 0.98 respectively. The statistics used for data analysis were descriptive and inferential statistic analyzing by SPSS and LISREL Programs. The research results found that: 1. The mean of moral and ethical leadership based on Buddhism was in a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifferent level of moral and ethical leadership based on Buddhism. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that administrators showed the different levels of behaviors with statistical significance at 0.05. 2. The levels of behaviors in factors influencing the moral and ethical leadership based on Buddhism were as follows; Pañca-dhamma factor (five ennobling virtues) Iddhipāda factor (path of accomplishment) and Mayapaññā factor (wisdom that has a way to arise) found a mean value at a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifference with statistical significance. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that the administrators showed the different levels of behaviors in Pañca-dhamma factor, InIddhipāda factors and Mayapaññā factors with statistical significance at 0.05. 3. The developed Structural Equation Model of Moral and Ethical Leadership Based on Buddhism was congruent with empirical data as specified criteria of fit indices as follows: P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN and LSR. 4. Pañca-dhamma factor showed the highest level of total influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.93 with statistical significance at 0.01. The Pañca-dhamma factor showed the direct influence on Iddhipāda at 0.98, and showed indirect influence via Iddhipāda to the moral and ethical leadership based on Buddhism and Mayapaññā at 0.83 and 0.94 respectively with statistical significance at 0.01. The second order, Iddhipāda factor showed the level of total influence on moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.85 with statistical significance at 0.01. The Iddhipāda factor showed the direct influence on Mayapaññā and moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.96 and 0.81 respectively with statistical significance at 0.01. As for Mayapaññā factor showed no influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism. All of 3 causal factors jointly explained the moral and ethical leadership based on Buddhism for 96 %.