Search results

79 results in 0.08s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ระลึกถึงความตาย
  • ความตายคือคติธรรมแห่งชีวิต
  • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับพิธีศพ
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: พิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นระเบียบดําเนินการเพื่อความสําเร็จไม่ใช่วิธีกอใหเกิดอํานาจพิเศษดลบันดาลให้สำเร็จตามที่หวังเพียงแต่เป็นสื่อก่อให้เกิดผลด้านกาย วาจา จิต ปัญญา และสังคม มีการกระทำแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ช่วยรักษาพระธรรมวินัยอีกแนวทางหนึ่ง การสาธยายธรรมเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นการท่อง การกล่าวธรรม การสวด การทรงพระธรรมวินัย มีลักษณะการเปล่งเสียงออกมาเพื่อประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ จิตเป็นสมาธิ เป็นพหูสูต ไม่เป็นมลทิน เป็นบริขารของจิต ยินดีในบุญกุศล เพื่อความไม่เบียดเบียนไม่มีเวรไม่มีภัย ละความง่วง ผู้ได้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็นผู้อยู่ในธรรม ผู้ฟังธรรมเกิดความเลื่อมใส ย่อมได้รับความสรรเสริญ และเพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อความไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญ พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมคณะสงฆ์จะทำพิธีกรรมต้องมีการสาธยายธรรมก่อนทั้งสิ้น พิธีกรรมกับคุณค่าการสาธยายธรรมในงานสวดพระอภิธรรม และการสาธยายธรรมก่อให้เกิดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น งานอวมงคล เช่น งานศพ การทำวัตรเช้า-เย็นของพุทธบริษัท เป็นต้น ก่อให้เกิดพิธีกรรมทั้งของพระสงฆ์ เช่น ทำวัตรเช้า-เย็น ส่วนคฤหัสถ์ เช่น สาธยายธรรมข้ามปี เป็นต้น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: พิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นระเบียบดําเนินการเพื่อความสําเร็จไม่ใช่วิธีกอใหเกิดอํานาจพิเศษดลบันดาลให้สำเร็จตามที่หวังเพียงแต่เป็นสื่อก่อให้เกิดผลด้านกาย วาจา จิต ปัญญา และสังคม มีการกระทำแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ช่วยรักษาพระธรรมวินัยอีกแนวทางหนึ่ง การสาธยายธรรมเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นการท่อง การกล่าวธรรม การสวด การทรงพระธรรมวินัย มีลักษณะการเปล่งเสียงออกมาเพื่อประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ จิตเป็นสมาธิ เป็นพหูสูต ไม่เป็นมลทิน เป็นบริขารของจิต ยินดีในบุญกุศล เพื่อความไม่เบียดเบียนไม่มีเวรไม่มีภัย ละความง่วง ผู้ได้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็นผู้อยู่ในธรรม ผู้ฟังธรรมเกิดความเลื่อมใส ย่อมได้รับความสรรเสริญ และเพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อความไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญ พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมคณะสงฆ์จะทำพิธีกรรมต้องมีการสาธยายธรรมก่อนทั้งสิ้น พิธีกรรมกับคุณค่าการสาธยายธรรมในงานสวดพระอภิธรรม และการสาธยายธรรมก่อให้เกิดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น งานอวมงคล เช่น งานศพ การทำวัตรเช้า-เย็นของพุทธบริษัท เป็นต้น ก่อให้เกิดพิธีกรรมทั้งของพระสงฆ์ เช่น ทำวัตรเช้า-เย็น ส่วนคฤหัสถ์ เช่น สาธยายธรรมข้ามปี เป็นต้น
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the rituals in Theravada Buddhism 2) to study the Chanting in Theravada Buddhism and 3) to analyze the rituals and the Dharma Chanting in Theravada Buddhism. The used documents are Tripitaka, commentary, textbooks and related researches. This study is a Qualitative research. The derived document and information were analyzed of the contents and the Inductive conclusion forms. The results of research were found that: Rituals in Theravada Buddhism are orderly proceeded in order to achieve certain goals which are not the creation of special power inspiring any successes. They are used as a media to fulfill the better of body, speech, mind, wisdom and society. The actions are for individual or in groups. This is another way to maintain the Dharma discipline. The chanting has begun from the age of the Buddhist era. It is a chanting, telling the Dharma, praying, and reserving of Buddhist discipline. It is an utterance for the benefits of oneself and the public. It is useful for the commitment to the Buddha. It is used as a tool to reach a liberation, meditated mind, be a scholar and have clean mind. It is for non-persecution, no harm, lethargy and attaining the Dharma. The one who listens Dharma will become faithful, receive praise, protection, self-keeping, Protection and live pleasantly. Rituals and Dharma chanting of Thai monks will start from the chanting first. In the funeral, rituals and the value of chanting cause merit and gratitude. chanting is also held in holy activities such as new house cerebration and auspicious events. Even in misfortune events, like a funeral, they play an important part of the events. When the laymen do morning and evening chanting, the monks also do the same. In the New Year days, the laymen chanting the Dharma over the years.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสนองพระมหากรุณาธิคุณในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562
Note: รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสนองพระมหากรุณาธิคุณในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    พระมหากษัตริย์ไทยกับพระราชพิธีคชกรรม -- ภาษาเขมรในตำราคชศาสตร์ -- ตำราคชกรรม -- ตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ว่าด้วยลักษณช้าง -- พระเทวกรรม -- พระโกญจนาเนศวรศิวบุตร -- พระมหาวิฆเนศวรศิวบุตร -- ตำราคชลักษณ์ -- ช้างศุภลักษณ์ -- พระนารายณ์ทรงบาศปราบเอกทันต์ -- พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ -- พระอุเทนราช -- พระโภคว
พระมหากษัตริย์ไทยกับพระราชพิธีคชกรรม -- ภาษาเขมรในตำราคชศาสตร์ -- ตำราคชกรรม -- ตำรานารายณ์ประทมสินธุ์ว่าด้วยลักษณช้าง -- พระเทวกรรม -- พระโกญจนาเนศวรศิวบุตร -- พระมหาวิฆเนศวรศิวบุตร -- ตำราคชลักษณ์ -- ช้างศุภลักษณ์ -- พระนารายณ์ทรงบาศปราบเอกทันต์ -- พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ -- พระอุเทนราช -- พระโภคว
หนังสือ