Search results

136 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีธรรมชาติของมนุษย์, ๒) เพื่อศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อวิเคราะห์ธรรมชาติของมนุษย์ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า มนุษย์เป็นผู้ที่มีใจสูง รู้จักสิ่งที่เป็นประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ มีความรู้สึกนึกคิดอย่างมีเหตุผล รู้จักการตัดสินใจ และรู้จักเลือกในสิ่งที่เป็นประโยชน์ มนุษย์เป็นสัตว์ที่เกิดจากองค์ประกอบ ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นสสารหรือรูป (กาย) และส่วนที่เป็นอสสารหรือนาม (จิตหรือวิญญาณ) กายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากหน่วยพื้นฐาน คือ ธาตุ ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ ลม โดยรับรู้โลกภายนอกผ่านประสาทสัมผัส ประสาทสัมผัสแต่ละอย่างจะมีอารมณ์หรือวัตถุที่เป็นของเฉพาะตน จิตหรือวิญญาณของมนุษย์มีอยู่จริง โดยอาศัยร่างกายเป็นที่อยู่เป็นธรรมชาติที่ไม่มีรูปร่าง จิตเป็นนามธรรมมีความสัมพันธ์กับร่างกาย และมีความสำคัญกว่าร่างกาย มนุษย์มีจิตหรือวิญญาณเป็นธรรมชาติพิเศษ และมีศักยภาพสูงในการฝึกฝนพัฒนาตนเอง เป็นสัตว์ที่มีปัญญาหรือมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต ธรรมชาติของร่างกายมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถดำรงอยู่ในภาวะเดิมตลอดไปได้ (อนิจจตา) และถูกบีบคั้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในอยู่ตลอดเวลา (ทุกขตา) มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคมมาแต่กำเนิด เพราะมนุษย์เป็นสัตว์ที่มีสัญชาตญาณทั้งฝ่ายสูงและฝ่ายต่ำ คอยเป็นแรงผลักดันให้ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม มนุษย์ควรแสดงพฤติกรรมที่ดีต่อผู้อื่นและสังคม ควรมีมิตรภาพต่อคนรอบข้าง เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และธรรมชาติของมนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทนั้น เป็นปรากฏการณ์ของกระแสแห่งเหตุปัจจัย ที่มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปตลอดเวลา และเป็นกระแสของเหตุปัจจัยที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้นตามกฎธรรมนิยาม ไม่มีอำนาจเหนือธรรมชาติของพรหมหรือเทพตนใดมาดลบันดาลให้มนุษย์มีธรรมชาติอย่างนั้นอย่างนี้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีธรรมชาติของมนุษย์, ๒) เพื่อศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท, และ ๓) เพื่อวิเคราะห์ธรรมชาติของมนุษย์ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า มนุษย์เป็นผู้ที่มีใจสูง รู้จักสิ่งที่เป็นประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ มีความรู้สึกนึกคิดอย่างมีเหตุผล รู้จักการตัดสินใจ และรู้จักเลือกในสิ่งที่เป็นประโยชน์ มนุษย์เป็นสัตว์ที่เกิดจากองค์ประกอบ ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นสสารหรือรูป (กาย) และส่วนที่เป็นอสสารหรือนาม (จิตหรือวิญญาณ) กายของมนุษย์ประกอบขึ้นจากหน่วยพื้นฐาน คือ ธาตุ ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ ลม โดยรับรู้โลกภายนอกผ่านประสาทสัมผัส ประสาทสัมผัสแต่ละอย่างจะมีอารมณ์หรือวัตถุที่เป็นของเฉพาะตน จิตหรือวิญญาณของมนุษย์มีอยู่จริง โดยอาศัยร่างกายเป็นที่อยู่เป็นธรรมชาติที่ไม่มีรูปร่าง จิตเป็นนามธรรมมีความสัมพันธ์กับร่างกาย และมีความสำคัญกว่าร่างกาย มนุษย์มีจิตหรือวิญญาณเป็นธรรมชาติพิเศษ และมีศักยภาพสูงในการฝึกฝนพัฒนาตนเอง เป็นสัตว์ที่มีปัญญาหรือมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต ธรรมชาติของร่างกายมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถดำรงอยู่ในภาวะเดิมตลอดไปได้ (อนิจจตา) และถูกบีบคั้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในอยู่ตลอดเวลา (ทุกขตา) มนุษย์เป็นสัตว์ที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคมมาแต่กำเนิด เพราะมนุษย์เป็นสัตว์ที่มีสัญชาตญาณทั้งฝ่ายสูงและฝ่ายต่ำ คอยเป็นแรงผลักดันให้ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม มนุษย์ควรแสดงพฤติกรรมที่ดีต่อผู้อื่นและสังคม ควรมีมิตรภาพต่อคนรอบข้าง เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และธรรมชาติของมนุษย์ในทรรศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทนั้น เป็นปรากฏการณ์ของกระแสแห่งเหตุปัจจัย ที่มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปตลอดเวลา และเป็นกระแสของเหตุปัจจัยที่อาศัยกันและกันเกิดขึ้นตามกฎธรรมนิยาม ไม่มีอำนาจเหนือธรรมชาติของพรหมหรือเทพตนใดมาดลบันดาลให้มนุษย์มีธรรมชาติอย่างนั้นอย่างนี้
The thesis objectives were the follows: 1) to study the conception of the Human Nature, 2) to study the Human Nature in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to Analyze the Human Nature in Theravada Buddhist Philosophy. It has been conducted through the qualitative research methodology. The data were mainly collected from the Tipitaka, books, magazines, documents, commentaries and related research works. The results of the research were found that: Humans are high spirits. Know what is useful and not useful. Have a reasonable feeling decision making and know what to choose. Human is an animal that is made up of two parts are: the substance or the body and the substance (mind or spiritual). The human body consists of four basic elements are: earth, water, wind, and the outside world through the senses. Each sensory or emotional object is unique, the mind or soul of man exists, by living the body is a natural place without shape. Spirituality is the relationship with the body and is more important than the body. Human beings have a mind or spiritual nature. They have the potential to develop themselves, an animal with intelligence or reason to live. The nature of the human body has changed. It cannot exist in the same condition forever (invisible) and is subjected to internal changes all the time. Human beings are related to society. Because of humans are creatures with both high and low instincts. To be motivated to be involved in society, human beings should show good behavior towards others and society, and should have friends around. For living together peacefully and the nature of man in view of Theravada Buddhist Philosophy is a phenomenon of the flow of factors. The occurrence is up and down all the time and the flow of factors that depend on each other according to the rules. There is no supernatural power of the Brahma or the goddess to come to human nature.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: ทิศ 6 ในพุทธปรัชญา ประกอบด้วย 1) ปุรัตถิมทิศ คือ มารดาบิดา 2) ทักขิณทิศ คือ ครูอาจารย์ 3) ปัจฉิมทิศ คือ บุตรภรรยา 4) อุตตรทิศ คือ มิตร 5) เหฏฐิมทิศ คือบ่าว คนรับใช้ คนงาน และ 6) อุปริมทิศ คือ พระสงฆ์ ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญา คือ ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ บิดามารดา ท่านทั้งสองเป็นผู้มีอุปการะก่อน เป็นผู้มาก่อน ให้การเลี้ยงดูบุตรธิดา ให้การศึกษา ให้ที่อยู่อาศัยมาก่อน สำหรับมารดานั้น ท่านให้บุตรธิดาอาศัยทั้งในกายและนอกกาย กล่าวคืออาศัยอยู่ในครรภ์และอาศัยอยู่ในเรือนเมื่อคลอดออกมาอบรมบ่มนิสัยให้บุตรอยู่ในศีลธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ทั้งพฤติกรรมทางกาย วาจา แม้กระทั่งจิตใจมารดาบิดาต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนรับผิดชอบต่อการดำเนินชีวิตของบุตรจนกว่าจะมีครอบครัวรับผิดชอบชั่วดีต่อตนเองได้ ผลการวิเคราะห์ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หน้าที่ของบิดามารดา ได้แก่ การอบรมสั่งสอนบุตรธิดา การปฏิบัติตนตามครรลองคลองธรรม การเป็นแบบอย่างที่ดี การปลูกฝังให้บุตรธิดาได้รับรู้ในสิ่งที่ดีและนำไปปฏิบัติ บุตรธิดาจะเป็นคนดีมีคุณธรรมนั้นเกิดจากการอบรมสั่งสอนของบิดามารดา ส่วนบุตรธิดาพึงสำนึกในบุญคุณของท่านที่ทำให้แก่ตนโดยความบริสุทธิ์ใจ กล่าวคือ ประกาศคุณท่าน ได้แก่ ประกาศความดีของท่านที่มีต่อตนหรือด้วยการปฏิบัติตนเป็นคนดีและตอบแทนคุณท่าน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: ทิศ 6 ในพุทธปรัชญา ประกอบด้วย 1) ปุรัตถิมทิศ คือ มารดาบิดา 2) ทักขิณทิศ คือ ครูอาจารย์ 3) ปัจฉิมทิศ คือ บุตรภรรยา 4) อุตตรทิศ คือ มิตร 5) เหฏฐิมทิศ คือบ่าว คนรับใช้ คนงาน และ 6) อุปริมทิศ คือ พระสงฆ์ ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญา คือ ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ บิดามารดา ท่านทั้งสองเป็นผู้มีอุปการะก่อน เป็นผู้มาก่อน ให้การเลี้ยงดูบุตรธิดา ให้การศึกษา ให้ที่อยู่อาศัยมาก่อน สำหรับมารดานั้น ท่านให้บุตรธิดาอาศัยทั้งในกายและนอกกาย กล่าวคืออาศัยอยู่ในครรภ์และอาศัยอยู่ในเรือนเมื่อคลอดออกมาอบรมบ่มนิสัยให้บุตรอยู่ในศีลธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ทั้งพฤติกรรมทางกาย วาจา แม้กระทั่งจิตใจมารดาบิดาต้องปฏิบัติหน้าที่ของตนรับผิดชอบต่อการดำเนินชีวิตของบุตรจนกว่าจะมีครอบครัวรับผิดชอบชั่วดีต่อตนเองได้ ผลการวิเคราะห์ปุรัตถิมทิสในพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หน้าที่ของบิดามารดา ได้แก่ การอบรมสั่งสอนบุตรธิดา การปฏิบัติตนตามครรลองคลองธรรม การเป็นแบบอย่างที่ดี การปลูกฝังให้บุตรธิดาได้รับรู้ในสิ่งที่ดีและนำไปปฏิบัติ บุตรธิดาจะเป็นคนดีมีคุณธรรมนั้นเกิดจากการอบรมสั่งสอนของบิดามารดา ส่วนบุตรธิดาพึงสำนึกในบุญคุณของท่านที่ทำให้แก่ตนโดยความบริสุทธิ์ใจ กล่าวคือ ประกาศคุณท่าน ได้แก่ ประกาศความดีของท่านที่มีต่อตนหรือด้วยการปฏิบัติตนเป็นคนดีและตอบแทนคุณท่าน
This thesis served its specific purposes: 1) to study six directions in Theravada Buddhism’s philosophy, 2) to examine Buddhism’s front direction in its philosophy, 3) to analyze the front direction in front in its philosophy. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Research findings have found that: there are six directions in Theravada Buddhist philosophy, which are: 1) Puriasthima-disa, the direction in front, parents represent it; 2) Dakkhina-disa, the direction in the right, teachers signify it; 3) Pacchima-disa, the direction in the back, wives and children stand for it, 4) Uttara-disa, the direction in the left, friends and companions symbolize them; 5) Hetthima-disa, the direction at the bottom, servants and workmen are treated as the nadir; 6) Uparima-disa, the top direction, Buddhist monks are lauded as the zenith. The direction in front in Theravada Buddhist philosophy refers to parents. The father has been labelled as a pre-benefactors and a pre-comers. He looks after his children, gives education to them, provide them with a shelter. A mother gives her children both inside and outside her body; her child resides in the womb and in the home. After her delivery, she fosters her children until they are grown-up. In a meanwhile, they receives trainings so that her child to equip them with good virtues and morality for physical and verbal decency. Even in parents’ mind, they have to hold fully responsible for leading children’s lives until they each have a family and they can take full responsibilities by themselves. Analyses of the direction in front in Theravada Buddhist philosophy have found that parents’ duties are: training their children to be good, behaving well as a good role model, and encouraging them to do good deeds. Because of parents’ trainings and teachings to have children absorb good practices and bring them into use, they are going to be good citizens and have moral virtues. Parents’ children should recall their great contributions with purified mind, i.e. either making known parents’ good deeds for their children or behaving well as decent children and doing a lot of good in return.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561