Search results

2 results in 0.12s

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ภายในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 10 หมู่บ้าน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ซึ่งมีค่าแปรผลโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.28,S.D=0,68) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านปุคคลัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ( =4.20,S.D=0,66) รองลงมา คือ ด้านอัตตัญญุตา และด้านมัตตัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.19,S.D=0,66) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านปริสัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.07,S.D=0,67) ตามลำดับ 2. ผลการรวบรวมข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาครั้งนี้ พบว่า ด้านที่มีข้อเสนอแนะมากที่สุด คือ ด้านปุคคลัญญุตา (รู้จักบุคคล) ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะว่า ควรรักษาคุณธรรมของตนเอง นำความสามารถที่มีมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และชุมชน รองลงมา คือ ด้านอัตตัญญุตา (รู้จักตน) และด้านมัตตัญญุตา (รู้จักประมาณ) มีเสนอแนะเท่า ๆ กัน ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะด้านอัตตัญญุตาว่าควรตั้งเป้าหมาย ค้นหาตนเองให้เจอว่ามีความสามารถด้านใดแล้วทำในสิ่งที่ตนเองชอบหรือถนัด โดยใช้ความรู้ความสามารถที่มีมาใช้ในการดำรงชีวิตและ ทำให้เกิดประโยชน์กับชุมชน และด้านมัตตัญญุตาว่า ยึดความถูกต้องเป็นหลัก ประกอบอาชีพที่สุจริต ไม่ลักขโมย ไม่ฉ้อโกง ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน มีความพอดีและพอเพียง และด้านที่มีข้อเสนอแนะน้อยที่สุด คือ ด้านปริสัญญุตา (รู้จักชุมชน) ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะว่า ควรปฏิบัติตนเองไปตามกฎระเบียบของบ้านเมือง สร้างความสัมพันธ์มิตรไมตรีต่อกัน ประพฤติตนเป็นคนดี และร่วมงานกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ภายในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 10 หมู่บ้าน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Taro Yamane ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า : 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ซึ่งมีค่าแปรผลโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.28,S.D=0,68) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านปุคคลัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ( =4.20,S.D=0,66) รองลงมา คือ ด้านอัตตัญญุตา และด้านมัตตัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.19,S.D=0,66) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านปริสัญญุตา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ( =4.07,S.D=0,67) ตามลำดับ 2. ผลการรวบรวมข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตามหลักสัปปุริสธรรมในตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาครั้งนี้ พบว่า ด้านที่มีข้อเสนอแนะมากที่สุด คือ ด้านปุคคลัญญุตา (รู้จักบุคคล) ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะว่า ควรรักษาคุณธรรมของตนเอง นำความสามารถที่มีมาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และชุมชน รองลงมา คือ ด้านอัตตัญญุตา (รู้จักตน) และด้านมัตตัญญุตา (รู้จักประมาณ) มีเสนอแนะเท่า ๆ กัน ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะด้านอัตตัญญุตาว่าควรตั้งเป้าหมาย ค้นหาตนเองให้เจอว่ามีความสามารถด้านใดแล้วทำในสิ่งที่ตนเองชอบหรือถนัด โดยใช้ความรู้ความสามารถที่มีมาใช้ในการดำรงชีวิตและ ทำให้เกิดประโยชน์กับชุมชน และด้านมัตตัญญุตาว่า ยึดความถูกต้องเป็นหลัก ประกอบอาชีพที่สุจริต ไม่ลักขโมย ไม่ฉ้อโกง ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน มีความพอดีและพอเพียง และด้านที่มีข้อเสนอแนะน้อยที่สุด คือ ด้านปริสัญญุตา (รู้จักชุมชน) ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะว่า ควรปฏิบัติตนเองไปตามกฎระเบียบของบ้านเมือง สร้างความสัมพันธ์มิตรไมตรีต่อกัน ประพฤติตนเป็นคนดี และร่วมงานกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
The objectives of this Thematic were 1) to study the development of people's quality of life according to Sappurisadhamma principles in Khao Rup Chang Sub-district, Mueang District, Songkhla Province. 2) to study the recommendations on development of the quality of people’s life according to the Sappurisadhamma principle in Khao Rup Chang Sub-district, Muang District, Songkhla Province. This study was quantitative research. The samples used were people living in Khao Rup Chang Sub-district, Muang District, Songkhla Province, amounting to 10 villages. The sample size was determined using the Taro Yamane table. The sample was 400 people. The study results reveled that : 1. The development of people's quality according to Sappurisadhamma which has an overall variable value at a high level. The mean was (X =4.28,S.D=0,68). If considered each aspect in order from most to least. The pukkalanyuta has the highest mean value. The mean was (X =4.20,S.D=0,66), followed by Attanyuta and muttanyuta have the same mean value at (X =4.19,S.D=0,66) and the least mean is the parisanto. The mean was (X =4.07,S.D=0,67), respectively. 2. The result of collecting recommendations on the improvement of people's quality of life in accordance with the principles of Sappurisadhamma in Khao Rupchang Subdistrict, Mueang District, Songkhla Province, found that the aspect with the most recommendations was the pukkalanyuta (Know the person) that the respondents suggested that They should maintain their own virtues and put effort on their abilities to bring benefits to themselves, others, and the community, followed by seattanyuta (self-knowing) and Muttanyuta (Self sufficient) were equally suggested, in which respondents had suggestion that goals should be set. Find yourself capable of doing what you are good at by using knowledge and ability for living and bring benefits to the community. Muttanyuta (prioritize accuracy) was suggested to conduct an honest occupation, and be sufficient. The least suggestion went to Parisanta (knowing of community) was suggested that one should act according to the community rules, raise friendly relationships with each other, behave, and participate with community activities.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
The objectives of the study were: 1) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province, 2) to study the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province and, 3) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. A sample was selected from 168 persons in 2020 of administrators, deputy executive, the head of personnel management and, school teachers in Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. The results of the study were as follows: 1) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that Integrated organization management, Integrative coordination, integrated control, integrated planning, and Integrative director. 2) The personnel management of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that the personnel maintenance, work performance evaluation, personnel development, personnel recruitment and appointment and, personnel planning was high level respective. 3) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province namely Integrated planning of Sappurisa-Dhamma (X1), Integrated organization management of Sappurisa-Dhamma (X2), Integrative coordination of Sappurisa-Dhamma (X4) and, Integrated control of Sappurisa-Dhamma (X5) which predicted the Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators was statistically significant at 0.01 level, and the prediction power had together was 66.40% (R2 = 0.664). The prediction equation forms of raw score were as follows: The raw score: Y′ = 0.659+0.232X1 + 0.177X2 + 0.221X4 + 0.217X5 The standard equation: Z′y = 0.249ZX1 + 0.186ZX2 + 0.267ZX4 + 0.263ZX5