Search results

13 results in 0.21s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากร คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 103 โรง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 86 โรง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ไม่แตกต่างกัน 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร คือ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (X3) ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (X1) และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (X4) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 81.40 (R2=0.814) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากร คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 103 โรง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 86 โรง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ไม่แตกต่างกัน 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร คือ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (X3) ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (X1) และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (X4) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 81.40 (R2=0.814) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
The research aimed to: 1) study the transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators under Samut Sakhon Primary Educational service area office 2) study the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office 3) study the transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office. The peoples were 103 schools. The samples were 86 schools. The instrument is questionnaire. The statistics use for data analysis were frequency, percentage, means, standard deviation, Pearson’s product moment correation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The results were found that: 1) Transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office were a high level. When considering each aspect, it was found that it was at the high level. 2) The academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office were a high level, it not different. 3) Transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office. Intellectual stimulation with Sangahavatthu principles (X3) Inspiration motivation with Sangahavatthu principles (X1) and Individualized consideration with Sangahavatthu principles (X4) with which the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office can be predicted with statistical significance at the level of .05, and the prediction power they had together was 81.40 percent (R2 = 0.814). The prediction equation in the form of raw score can be derived as follows: Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) And the prediction equation in the form of standardized score can be derived as follows: Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Independent Samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) โดยใช้สถิติ F-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ รองลงมา คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่พบความแตกต่างกัน 3. ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากคำถามปลายที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารควรยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการตัดสินใจทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริตและไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ สามารที่จะนำเทคนิค วิธีการมาใช้ในการบริหารจัดการได้ตามสถานการณ์ ควรสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจในการทำงาน สร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรในการทำงานเอาชนะปัญหามุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ควรกระตุ้นให้ครูมีความกระตือรือร้นในการทำงานเป็นทีม เปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการกำหนดภารกิจขององค์กร การสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ครูและบุคลากร ควรส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีการพัฒนาตนเองและสนใจในการการพัฒนาจุดเด่นของตัวผู้ร่วมงาน และควรนำทักษะและประสบการณ์มาใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาดูแลและเอาใจในครูและบุคลากรอย่างทั่วถึง 4.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Independent Samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) โดยใช้สถิติ F-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ รองลงมา คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่พบความแตกต่างกัน 3. ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากคำถามปลายที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารควรยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการตัดสินใจทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริตและไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ สามารที่จะนำเทคนิค วิธีการมาใช้ในการบริหารจัดการได้ตามสถานการณ์ ควรสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจในการทำงาน สร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรในการทำงานเอาชนะปัญหามุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ควรกระตุ้นให้ครูมีความกระตือรือร้นในการทำงานเป็นทีม เปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการกำหนดภารกิจขององค์กร การสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ครูและบุคลากร ควรส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีการพัฒนาตนเองและสนใจในการการพัฒนาจุดเด่นของตัวผู้ร่วมงาน และควรนำทักษะและประสบการณ์มาใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาดูแลและเอาใจในครูและบุคลากรอย่างทั่วถึง 4.
แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ การมีวิสัยทัศน์ของผู้นำที่มีเป้าหมายที่เป็นอุดมการณ์ มีความชัดเจนในการปฏิบัติงาน กล้าที่จะทำในสิ่งใหม่ ๆ โดยมีความเป็นมิตร จริงใจ มีคุณธรรม นำทีมงานไปสู่ความสำเร็จที่ตังไว้ ด้านการสร้างแรงจูงใจ มีการแสดงออกซึ่งความกระตือรือร้น โดยการสร้างเจตคติที่ดีและการคิดในแง่บวก ผู้นำจะสร้างและสื่อความหวังที่ผู้นำต้องการอย่างชัดเจน แสดงความเชื่อมั่นและแสดงให้เห็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าสามารถบรรลุเป้าหมายได้ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา การดูแลเอาใจใส่ผู้ตามเป็นรายบุคคล และทำให้ผู้ตามรู้สึกมีคุณค่าและมีความสำคัญ ผู้นำมีการกระตุ้นให้ผู้ตามแสดงความคิดและเหตุผล และไม่วิจารณ์ความคิดของผู้ตาม แม้ว่ามันจะแตกต่างไปจากความคิดของผู้นำ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ทำให้ผู้ตามรู้สึกมีคุณค่าและมีความสำคัญ ผู้นำจะเป็นโค้ช (Coach) และเป็นที่ปรึกษา (Advisor) ของผู้ตามแต่ละคน เพื่อการพัฒนาผู้ตาม เข้าใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น บางคนได้รับกำลังใจมากกว่า บางคนได้รับอำนาจการตัดสินใจด้วยตนเองมากกว่า บางคนมีมาตรฐานที่เคร่งครัดกว่า บางคนมีโครงสร้างงานที่มากกว่า ผู้นำมีการส่งเสริมการสื่อสารสองทาง
The objectives of this research were 1) to study the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, 2) to compare the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, classified byeducational level, position, and work experience, and 3) to study recommendations and development guideliones of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education. The sample consisted of 370 teachers of the Secondary Educational Service Area Office Roi Et. The instrument used in this research was a 5-level estimation scale questionnaire with IOC values between 0.67 – 1.00 with confidence in the whole issue of 0.98 and the interview form. Statistics used to test the hypothesis using t-tests (Independent Samples) and One Way ANOVA) using F-test statistics. The results were found that : 1. The Transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education by overall, was at a high level. When considering each aspect found that the aspect with the highest was inspiration, followed by having ideological influence, and consideration of individuality was the lowest mean. 2. The comparison of personnel opinions towards the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, classified by educational level, position, and work experience were no difference. 3. The results of analysis of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education from the open-ended questions obtained from the sample group as follows: the executives should adhire to the principles morality and work ethics, having honesty and no seeking unlawful benefits, applying techniques to manage according to the situation, motivating personnel to be inspired to work, building confidence in personnel to overcome problems and strive towards the sae goals, encouraging teachers to be active in team work, providing oppotunities for teachers to participate in defining the mission of the organization, morale building for teachers and staff, encoraging to develop themselves and interested in developing the participants’strengths, and bringing skills and experience to be used in planning and solving problems, and taking care of teachers and staff throughly. 4. Development guidelines of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education found that the ideological influence aspect: having a vision of leader with ideological goals, having clearity in operation, dare to do the new things with sincerity and viture, and leading the team to the set success, motivation: showing enthusiasm by creating a positive attitude and positive thinking, leader should be create and convey their desire clearly, show confidence and determination to achieve goals, intellectual stumulation: taking care of individual followers, making followers feel valued and important, encouraging followers to express ideas and reason, and no critique of followers’ thought though it differed from the leader’s opinion, individuality: making followers feel, leader should be coached and advisor of each follower for as to the follower development, understanding and accepting individual differences such as some were more encouraged, some were empowdered to make more decisions for themselves, some had more strengent standards, some had more structure, and leader should promote two-way communication.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง เชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อทดสอบโมเดลตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อระบุองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และค่าน้ำหนักของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนทั้งสิ้น 379 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาหรือรักษาการ โรงเรียนละ 1 คน จำนวน 379 คน หัวหน้างานโรงเรียนละ 2 คน จำนวน 758 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 1,137 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .98 2)แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน ปี พ.ศ.
2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1) ตัวบ่งชี้ที่เหมาะสมของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของทุกตัวบ่งชี้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.51 - 4.75 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายอยู่ระหว่าง 3.15 – 19.40 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นตัวบ่งชี้ที่มีความเหมาะสมสามารถคัดสรรไว้ในโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างทุกตัวเนื่องจากมีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า3.00 และมีค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า20 % 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล พบว่าโมเดลการวัดแต่ละองค์ประกอบที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลการวิจัยที่มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก และแสดงว่าองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม เป็นโมเดลที่มีความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ขององค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีค่าเป็นบวกตั้งแต่ค่าตั้งแต่ 0.91-0.95 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า เรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบมากไปหาน้อย คือ การกระตุ้นทางปัญญาเชิงจริยธรรม (SL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.95 การสร้างแรงบันดาลใจเชิงจริยธรรม(ML) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.94 การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลเชิงจริยธรรม (CL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.93 และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์เชิงจริยธรรม (IL) มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.91 ซึ่งค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (factor loading) ของทั้ง 4 องค์ประกอบมีค่าเป็นบวก และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษานำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา ด้วยมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัยที่ได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this study are 1) to study an appropriate indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 2) to test the model of indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) to identify the main and minor elements indicator and weighing of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 4) to study the guidelines developing primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission by using Mixed Methods Research. The samples of this study are 379 primary schools under the Office of the Basic Education Commission. The information providers in total are 1,137 consisting of 379 directors/ acting for directors, 1 for each school, and 758 supervisors 2 for each school. Research instruments are 1) questionnaires about primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission of which reliability is .98. 2) structured interviews of the year 2020, statistics used in data analysis are frequency, percentage, average, standard deviation (S.D.), and Confirmatory Factor Analysis: CFA by using statistic application. The research revealed that 1) the average of the indicator of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission is between 3.51 – 4.75 and the distribution coefficient is between 3.15 – 19.40 which showed that the appropriate indicator can be selected for all kinds of Structural Relationship Model because of the average is equal or over 3.00 and the distribution coefficient is equal or under 20%. 2) the result of all 4 models’ CFA showed that all models developed from the theory and the research result which well correspond to the empirical data and revealed that all 4 elements, Moral Idealized Influence, Moral Inspiration Motivation, Moral Intellectual Stimulation, and Moral Individualized Consideration, are Structural Relationship Model of primary school director’s moral change under the Office of the Basic Education Commission. 3) The factor loading of all elements is positive, 0.91-0.95, and showed that the statistical significance is at 0.1 level which is sorted from factor loading in descending order. First, Moral Intellectual Stimulation is 0.95. Second, Moral Inspiration Motivation is 0.94. Then, Moral Individualized Consideration is 0.93. And the last, Moral Idealized Influence is 0.91. The factor loading of all elements is positive with the statistical significance is at 0.1 level. 4) According to the results from data analysis above, the expert supported director to provide the elements and indicator in school management which correspond to the research results.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียน 59 โรงเรียน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) และการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มย่อยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sample) ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารและครู รวมทั้งหมด 354 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารกับองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยภาพรวม เท่ากับ .981และรายด้าน เท่ากับ .977 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ตามหลักอิทธิบาท, ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลตามหลักอิทธิบาท, ด้านการสร้างแรงบันดาลใจตามหลักอิทธิบาทและด้านการกระตุ้นทางปัญญาตามหลักอิทธิบาท ตามลำดับ 2. การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร มีคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ยกเว้น ด้านการมีแบบแผนทางความคิด อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากสูงสุดไปต่ำสุด คือด้านความเชี่ยวชาญส่วนบุคคล, ด้านการสร้างและสานวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม, ด้านการคิดเชิงระบบและด้านการมีแบบแผนทางความคิด ตามลำดับ 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการกระตุ้นทางปัญญา และ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 61.8 (R2 = .618) สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ y ̂ = .740+.460 (x4) + .217 (x3) + .148 (x2) (R2 = .618) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂ Y = .454 (x4) +.231 (x3) + .156 (x2) (R2 = .618
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียน 59 โรงเรียน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) และการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มย่อยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sample) ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารและครู รวมทั้งหมด 354 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารกับองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์หาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยภาพรวม เท่ากับ .981และรายด้าน เท่ากับ .977 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาทของผู้บริหารในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ตามหลักอิทธิบาท, ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลตามหลักอิทธิบาท, ด้านการสร้างแรงบันดาลใจตามหลักอิทธิบาทและด้านการกระตุ้นทางปัญญาตามหลักอิทธิบาท ตามลำดับ 2. การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร มีคะแนนค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ยกเว้น ด้านการมีแบบแผนทางความคิด อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย จากสูงสุดไปต่ำสุด คือด้านความเชี่ยวชาญส่วนบุคคล, ด้านการสร้างและสานวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม, ด้านการคิดเชิงระบบและด้านการมีแบบแผนทางความคิด ตามลำดับ 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามหลักอิทธิบาท 4 ของผู้บริหารส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการกระตุ้นทางปัญญา และ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกลุ่มกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 61.8 (R2 = .618) สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ y ̂ = .740+.460 (x4) + .217 (x3) + .148 (x2) (R2 = .618) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂ Y = .454 (x4) +.231 (x3) + .156 (x2) (R2 = .618
The objectives of the study were: 1) to study transformational leadership according to Iddhipāda of school administrators of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration, 2) to study the learning organization of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration, and 3) to study transformational leadership according to Iddhipa ̅da of school administrators resulting to the learning organization of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration. The data were collected through questionnaires, administrators and teachers of South Krungthon Group Schools 354 samples in 59 schools by stratified and simple random sampling. The overall reliability was at .981 and at .977 in aspects. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of the study found that: 1. The average value of transformational leadership according to Iddhipa ̅da of school administrators of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration was at a highest level in total. In aspects, the highest level was on Idealized Influence, followed by Individualized Consideration, Inspiration Motivation, and Intellectual Stimulation respectively. 2. The average value of learning organization of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration was at a highest level in total and in aspects. The highest level was on Personal Mastery, followed by Building and Sharing Vision, Team Learning, Systematic Thinking, and Mental Model respectively. 3. Transformational Leadership according to Iddhipāda of school administrators resulting to the learning organization of South Krungthon Group Schools under Bangkok Metropolitan Administration with a significantly statistic figure at .01. The most significance was on Individualized Consideration, followed by Intellectual Stimulation, and Inspiration Motivation respectively. The predictive coefficient or the predictive power of being a learning organization was 61.8% (R2 = .618). It can be written in regression equation as follows; Raw Score Equation y ̂ = .740+.460 (x 4) + .217 (x3) + .148 (x2) (R2 = .618) Standard Equation Z ̂ Y = .454 (x 4) +.231 (x3) + .156(x2) (R2 = .618)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1,740 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 617 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ มีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 83 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.71-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 1.00-1.34 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.59-1.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1,740 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 617 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ มีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 83 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.71-1.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 1.00-1.34 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.59-1.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 1,740 teachers in Boromarajonani college of nursing under Boromarajchanok Institute. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 617 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses : 1) The 83 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), root mean square error of approximation (RMSEA), goodness-of-fit index (GFI) adjusted goodness-of-fit index (AGFI), comparative fit index (CFI), and normed fit index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.71 to 1.00, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 1.00 to 1.34 and indicators had factor loading ranged from 0.59 to 1.42, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ระบุองค์ประกอบตัวบ่งชี้ และพฤติกรรมบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง หรือค่าน้ำหนักองค์ประกอบตามเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) คือผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งหมด 205 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 615 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 2 ชุด ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2563 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การคำนวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) การคำนวณหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (coefficient of variation) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory factor analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) พัฒนาตัวบ่งชี้และกำหนดโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหาร ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างโดยใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือมากกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% ผลการวิเคราะห์แยกออกเป็นแต่ละองค์ประกอบ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ 4 ตัว การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยเมตตา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณา การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยมุทิตา และการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา 2) องค์ประกอบการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยเมตตา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยกรุณา การสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยอุเบกขา 3) องค์ประกอบการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วย พรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยเมตตา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยกรุณา การกระตุ้นทางปัญญาอันประกอบด้วยมุทิตา และการกระตุ้นทางปัญญา อันประกอบด้วยอุเบกขา 4) องค์ประกอบ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 4 ตัว คือ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยเมตตา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล อันประกอบด้วยกรุณา การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยอุเบกขา 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลทั้ง 4 โมเดล
พบว่า ทุกโมเดลตามสมมติฐานการวิจัยสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก นอกจากนี้ ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของตัวบ่งชี้มีนัยสำคัญทางสถิติทุกค่า แสดงว่าตัวบ่งชี้ทั้งหมดนี้เป็นตัวบ่งชี้ที่สำคัญขององค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันของโมเดล ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงพรหมวิหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ตัวบ่งชี้ทั้ง 16 ตัว มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p < .01) โดยตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์สูงที่สุด คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยกรุณาและการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์อันประกอบด้วยอุเบกขา คือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.705 ส่วนตัวบ่งชี้ที่มีความสัมพันธ์กันน้อยที่สุดคือการสร้างแรงบันดาลใจอันประกอบด้วยมุทิตา และการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอันประกอบด้วยกรุณาคือ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.140 4) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นและมีการปฏิบัติรวมทั้งมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรนำองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทุกตัวไปปฏิบัติในการดำเนินงานจริง ซึ่งสอดคล้องหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับผลการวิจัย ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to develop indicators and to model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) to test the coherence of the structural relationship model of the indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration with developed by empirical data, 3) to identify the indicator element and indicator behaviors with structural integrity or the element's weight value according to the specified criteria and, 4) to study the guidelines for Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration by the mixed methods research; qualitative research and quantitative research. The sample group used in the research was educational institutions under Bangkok Metropolitan Administration totaling 205 schools. The informants consist of school administration, academic supervisors and teachers totaling 615 persons. Two sets of data collection tools were: 1) the questionnaire on Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration, 2) structured interview form collected the data in 2020. The statistics used for data analysis are Mean, Standard deviation, Coefficient of Variation, Confirmatory Factor Analysis using a statistical package. The results of the research were as follows: 1) To develop the indicators and model the structural relationship of indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration. To selected for the structural relation model using the mean criterion equal to or greater than 3.00 and the distribution coefficient equal to or less than 20%. The result of separate element consists as 1) ideological influence with Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; ideological influence that consists of loving-kindness, ideological Influence with compassion, ideological influence consisting of sympathetic joy and, ideological influence consisting of equanimity. 2) inspirational components of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; inspirational kindness, inspirational compassion, inspiration sympathetic joy and inspiration consisting of equanimity. 3) intellectual stimulation component consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; the intellectual stimulation of kindness, intellectual stimulation of compassion, intellectual stimulation sympathetic joy and intellectual stimulation consists of equanimity. 4) The elements considering the individuality consists of Brahmavihara. It consists of 4 indicators namely; consideration of individual with kindness, consideration of the individual with compassion, consideration of the individuality with sympathetic joy, consideration of the individuality with equanimity. 2) The results of the confirmatory component analysis of the 4 models revealed to all models according to the research hypothesis were very consistent with the empirical data. In addition, the component weights of all indicators were statistically significant. It was shown that all of these indicators were important indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under the Bangkok Metropolitan Administration. 3) The results of the Pearson correlation coefficient analysis model. The indicators Brahmavihara changing leadership of school administrators under Bangkok Metropolitan Administration was found that all 16 indicators had a statistically significant positive correlation at the .01 level (p < .01). The highest correlation indicator was ideological influence with kindness and compassion having a correlation coefficient of 0.705, while the least correlation indicator was motivational with kindness and consideration of the individuality with compassion has a correlation coefficient of 0.140 4) The results obtained from the data analysis of 4 components mentioned above. The experts have opinions and practice as well as encouraging personnel to apply all components and indicators to practice in actual operations. It was consistent or in the same direction as the research results that researcher has developed.