Search results

3,156 results in 0.1s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักคุณธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรซึ่งมีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน มี มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก ได้แก่ ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานเพื่อแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพของเทศบาล, เทศบาลควรเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหารของเทศบาลเพิ่มขึ้นโดยเลือกสื่อที่สามารถเข้าถึงตัวของประชาชนได้ เช่น เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น หอกระจายข่าว เป็นต้น และ เทศบาลควรมีการจัดหน่วยให้บริการประชาชนอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึงโดยควรจัดทำตารางในการออกหน่วยให้บริการประชาชนล่วงหน้าและแจ้งให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่ทราบโดยทั่วกัน ตามลำดับ
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 85 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง (Inferential Statistics) ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักคุณธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรซึ่งมีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน มี มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ของเทศบาลตำบลทุ่งกุลา อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ และ 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก ได้แก่ ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดำเนินงานเพื่อแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพของเทศบาล, เทศบาลควรเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดเกี่ยวกับงานบริหารของเทศบาลเพิ่มขึ้นโดยเลือกสื่อที่สามารถเข้าถึงตัวของประชาชนได้ เช่น เว็บไซด์ หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น หอกระจายข่าว เป็นต้น และ เทศบาลควรมีการจัดหน่วยให้บริการประชาชนอย่างสม่ำเสมอและทั่วถึงโดยควรจัดทำตารางในการออกหน่วยให้บริการประชาชนล่วงหน้าและแจ้งให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่ทราบโดยทั่วกัน ตามลำดับ
The purposes of this paper were: 1) to study personnel’s opinions on good governance-based administrations at Tambon Thung Kula Municipality in Roi Et province’s Suwannaphum district, 2) to compare their opinions on good governance-based administrations at the preceding municipality to differing variables of their genders, ages and educational levels, 3) to examine their suggestions for enhancing its good governance-based administrations at the same municipality. Samples comprised personnel performing their duties at the municipality, which they prompted the sampling group of 85 individuals through Taro Yamane’s table. The research instrument was the five-rating scale questionnaire handout with the whole questions possessing the reliability at 0.99. Descriptive statistics used for analyzing data encompasses frequency, percentage, mean and standard deviation, including inferential Statistics on t-test and F-test (One-way ANOVA). Results of the research have found the following findings: 1) Personnel’s opinions on good governance-based administrations at the above municipality have been rated high in the overall aspect, as has a single aspect taken into consideration. All five aspects embrace: rule of law, value of money, accountability, participation, and morality respectively. 2) The hypothesis testing results have confirmed that differing variables of their genders, ages and educational levels show no differences in their opinions as such at the municipality in both the overall aspect and a single one. Therefore, the target results are not conducive to the established hypotheses. 3) Suggestions garnered from the research ranked in descending order of first three frequencies are that the municipality should: first, open up opportunities to personnel taking part in scrutinizing its operations to prove its transparency and efficacy; secondly, increase channels of public relations on information and details of its administrations by opting for such easily accessible media as websites, local newspapers, loud speaker towers, etc.; finally, has its mobile service units patrolled for rendering services to residents on the regular and thorough basis with arranging tables of exact dates, times and venues of such units in advance and keeping residents in every area informed respectively.