Search results

6 results in 0.05s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติ ของสุธีโรภิกขุ 3) เพื่อวิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติ ของสุธีโรภิกขุ โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ได้แก่ พระภิกษุไทยจำนวน 4 รูป พระภิกษุชาวต่างชาติจำนวน 3 รูป และฆราวาสชาวต่างชาติจำนวน 7 คน (รวม 14 รูป/คน) แล้วนำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : ธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท ได้แก่ วิสัยทัศน์ ทัศนะหรือความเห็น ที่ผ่านการกลั่นกรอง ใคร่ครวญ พิจารณาจากประสบการณ์ตรงทั้งทางโลกและทางธรรม ด้วยวัจนภาษา คือ การตรัสสอนด้วยถ้อยคำอันเหมาะแก่ผู้ฟัง และอวัจนภาษา คือ พุทธจริยาที่งดงามเหมาะควรแก่สถานการณ์ บริบทสังคม ศักยภาพ จริตนิสัยของผู้ฟัง และหลักธรรมที่เหมาะสมกับบุคคลในกาพัฒนาจิต ธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติของสุธีโรภิกขุ คือ การใช้หลักธรรมทรรศน์เผยแผ่แบบ 3, 2, 4 ได้แก่ การใช้แนวทาง 3 ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา รูปแบบ 2 ประการ ได้แก่ การใช้ วัจนภาษา คือ ด้วยการพูด เข้าใจง่าย สุภาพ อ่อนโยน และการใช้ อวัจนภาษา คือ ด้วยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และวิธีการ 4 ได้แก่ สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น เย็นให้สัมผัสได้ วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติของสุธีโรภิกขุ ท่านได้ยึดมั่นในหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่านรูปแบบการสอนด้วยวจนภาษาและอวัจนภาษา และด้วยวิธีการ สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น เย็นให้สัมผัสได้ สอนชาวต่างชาติและพุทธศาสนิกชน ทำให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสถึงปริยัติที่ถ่องแท้ ปฏิบัติที่ถูกทาง และปฏิเวธอันเที่ยงธรรม นำไปสู่ผลเป็นคุณสัมปันโน
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติ ของสุธีโรภิกขุ 3) เพื่อวิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติ ของสุธีโรภิกขุ โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ได้แก่ พระภิกษุไทยจำนวน 4 รูป พระภิกษุชาวต่างชาติจำนวน 3 รูป และฆราวาสชาวต่างชาติจำนวน 7 คน (รวม 14 รูป/คน) แล้วนำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : ธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท ได้แก่ วิสัยทัศน์ ทัศนะหรือความเห็น ที่ผ่านการกลั่นกรอง ใคร่ครวญ พิจารณาจากประสบการณ์ตรงทั้งทางโลกและทางธรรม ด้วยวัจนภาษา คือ การตรัสสอนด้วยถ้อยคำอันเหมาะแก่ผู้ฟัง และอวัจนภาษา คือ พุทธจริยาที่งดงามเหมาะควรแก่สถานการณ์ บริบทสังคม ศักยภาพ จริตนิสัยของผู้ฟัง และหลักธรรมที่เหมาะสมกับบุคคลในกาพัฒนาจิต ธรรมทรรศน์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติของสุธีโรภิกขุ คือ การใช้หลักธรรมทรรศน์เผยแผ่แบบ 3, 2, 4 ได้แก่ การใช้แนวทาง 3 ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา รูปแบบ 2 ประการ ได้แก่ การใช้ วัจนภาษา คือ ด้วยการพูด เข้าใจง่าย สุภาพ อ่อนโยน และการใช้ อวัจนภาษา คือ ด้วยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และวิธีการ 4 ได้แก่ สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น เย็นให้สัมผัสได้ วิเคราะห์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทแก่ชาวต่างชาติของสุธีโรภิกขุ ท่านได้ยึดมั่นในหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ผ่านรูปแบบการสอนด้วยวจนภาษาและอวัจนภาษา และด้วยวิธีการ สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น เย็นให้สัมผัสได้ สอนชาวต่างชาติและพุทธศาสนิกชน ทำให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสถึงปริยัติที่ถ่องแท้ ปฏิบัติที่ถูกทาง และปฏิเวธอันเที่ยงธรรม นำไปสู่ผลเป็นคุณสัมปันโน
This research has the objectives; 1) to study Dhammathas in Theravada Buddhist propagation, 2) Sutheero Bhikkhu’s Dhammathas for Theravada Buddhist propagation for the foreigners, and 3) to analyze Sutheero Bhikkhu’s Theravada Buddhist propagation for the foreigners. The researcher studied form Tripitaka, Buddhist commentaries, books, texts and related research and in-depth interview from four Thai Buddhist monks, three foreign Buddhist monks, and 7 foreign laymen totaling 14, and compiled, classified, and analyzed the data as following the data. The research results were found that Dhammathas in Theravada Buddhist propagations are vision, outlook, and opinion through moderation, scrutiny, and consideration from secularand moral experience with verbal which is the proper language for the listeners. Nonverbal is well-Buddhist behavior in proper situation, social context, potentiality, sense of listeners and appropriate Dhamma with persons to develop their mind. Sutheero Bikkhu’s Dhammathas for Buddhist propagation for the foreigners is Buddhist propagation called 3, 2, 4 models. It is Threefold training called Sila, Meditation, and Wisdom. 2 model is consisted of verbal with easy understanding, polite, and nice talking. Nonverbals are consisted of teaching to know, learning by doing, comfortable practice. Sutheero Theravada Buddhist propagation for the foreigners is held with The Threefold training called Sila, Meditation, and Wisdom trough verbal and nonverbal teaching including teaching to know, learning by doing, and comfortable practice for foreigners and Buddhists. The followers knew the theory of practice, and they properly practice, understand thoroughly to reach result of the enlightenment.