Search results

6 results in 0.04s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แนวคิดทฤษฎีการปกครองท้องถิ่นและการจัดการปกครองท้องถิ่นที่ดี
  • บทที่ 2 องค์ประกอบและลักษณะสำคัญของการปกครองท้องถิ่น
  • บทที่ 3 โครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของการปกครองท้องถิ่นไทย
  • บทที่ 4 พัฒนากรของแนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
  • บทที่ 5 พัฒนาการตัวแปร องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในประเทศไทย
  • บทที่ 6 หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของไทย
  • บทที่ 7 การบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีของไทย
  • บทที่ 8 การสร้างการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีในยุคโลกาภิวัฒน์กับประชาธิปไตยท้องถิ่น
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 มณฑลซานตง... แหล่งตำนานก๊กฉีและก๊กหลู่
  • บทที่ 2 ความเป็นมาเกี่ยวกับมณฑลซานตง
  • บทที่ 3 การปกครองมณฑลซานตง...สภาประชาชน
  • บทที่ 4 การปกครองมณฑลซานตง...รัฐบาลประชาชน
  • บทที่ 5 พลังทางการเมืองที่อยู่เบื้องหลังสภาผู้แทนและรัฐบาล
  • บทที่ 6 การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของมณฑลซานตง
  • บทที่ 7 นโยบายการพัฒนาชนบทของมณฑลซานตง
  • บทที่ 8 เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับมณฑลซานตง
  • บทที่ 9 สรุปผลการศึกษาและประโยชน์ที่ได้รับ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุและ ระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 12 หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น 1,221 ครัวเรือน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 301 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ0.94 และค่า IOC เท่ากับ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยใช้ t-test (Independent Samples) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้ F-test (One-way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านโครงสร้างพื้นฐานรองลงมาได้แก่ ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีด้านเศรษฐกิจ และด้านการท่องเที่ยวตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุและ ระดับการศึกษา พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ลำดับความถี่มากไปหาน้อยสามอันดับแรก คือ ควรให้มีแหล่งเงินทุนสำหรับการลงทุน ควรให้มีการอบรมเกี่ยวกับธุรกิจในชุมชน และควรส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลนักการเมือง ตามลำดับ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุและ ระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนหรือตัวแทนครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 12 หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น 1,221 ครัวเรือน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 301 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ0.94 และค่า IOC เท่ากับ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยใช้ t-test (Independent Samples) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้ F-test (One-way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านโครงสร้างพื้นฐานรองลงมาได้แก่ ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีด้านเศรษฐกิจ และด้านการท่องเที่ยวตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุและ ระดับการศึกษา พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองแวงควง อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ ลำดับความถี่มากไปหาน้อยสามอันดับแรก คือ ควรให้มีแหล่งเงินทุนสำหรับการลงทุน ควรให้มีการอบรมเกี่ยวกับธุรกิจในชุมชน และควรส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลนักการเมือง ตามลำดับ
The objective of this to study the: 1) public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province. 2) to compare public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province by sex, age and education level, and 3) to study the suggestions about public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province The samples used in the research include household head or representative households in the District Administrative Office Nongwang swinging. Si King Roi Et Province, 12 villages. The number of 1,221 household determining sample size by using the formula of Taro Yamane (Taro Yamane) sample were 301 household used in the research. A questionnaire rating scale. With reliability, both of 0.94 and IOC=1 statistical analysis, i.e. percentage, average, standard deviation. And compare the difference of the average by using t-test (Independent Samples) and one way analysis of variance by statitics the F-test (One-way ANOVA). The results showed that 1) the public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province.The order from the most to the least. The side with the highest average. Infrastructure, followed by educational, religious, cultural and social aspects. And environmental management for the economy. And tourism respectively 2) The comparison of public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province. by sex, age and education level were found. People with different sex, age and education level. A public opinion on carrying out nong waeng kuang Administrative Orgazation’s work in si somdet district, Roi Et Province. 3) recommendations from this research. Descending order of frequency, the top three is not a source of funds for investment. To provide training on the business community. And should promote the good governance by politicians.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560