Search results

11 results in 0.06s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • 1. ศาสตร์และศิลปะความเป็นครู
  • 2. บทบาทและความสำคัญของวิชาชีพครู
  • 3. แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
  • 5. กรณีตัวอย่างการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของครูมืออาชีพ
  • 6. การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจของนิสิตวิชาชีพครู
  • 7. แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 ความเป็นมาของวิชาชีพครูในประเทศไทย
  • บทที่ 3 กระบวนการผลิตครู
  • บทที่ 4 กระบวนการพัฒนาครู
  • บทที่ 5 มาตรฐานวิชาชีพครู
  • บทที่ 6 การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21
  • บทที่ 7 ครูดีในยุคประเทศไทย 4.0
  • บทที่ 8 การพัฒนาครูของต่างประเทศ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับครู
  • บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ของครู
  • บทที่ 3 คุณลักษณะ คุณธรรม และจริยธรมของครูที่ดี
  • บทที่ 4 จิตวิญญาณความเป็นครู
  • บทที่ 5 วิชาชีพครู มาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
  • บทที่ 6 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
  • บทที่ 7 การพัฒนาครูสู่ความเป็นครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21
  • บทที่ 8 รูปแบบการพัฒนาครูประจำการโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
  • บทที่ 9 ความเป็นครูมืออาชีพ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 เอกสารและการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประเทศไทย 4.0
  • คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0
  • สมรรถนะครูที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0
  • ระบบการผลิตครู
  • ระบบการพัฒนาครูของประเทศไทย
  • กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตครู
  • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษา
  • บทที่ 2 การจัดการศึกษาของไทยและต่างประเทศ
  • บทที่ 3 การบริหารการศึกษาของไทยในยุคโลกาภิวัตน์
  • บทที่ 4 คุณลักษณะและบทบาทหน้าที่ของครู
  • บทที่ 5 คุณธรรมและจริยธรรมของครู
  • บทที่ 6 การสร้างศรัทธาและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
  • บทที่ 7 การเป็นผู้นำทางวิชาการของครู
  • บทที่ 8 การพัฒนาวิชาชีพครู
  • บทที่ 9 กฎหมายสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.บ) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.บ) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามตำแหน่ง อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni ผลการวิจัย พบว่า 1. ค่าเฉลี่ยการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า ค่าเฉลี่ยของระดับการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านเมตตา รองลงมา คือ ด้านอุเบกขา และด้านกรุณา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านมุทิตา 2. ค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีอายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน และค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีตำแหน่งต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านมุทิตา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าพนักงานตามภารกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า 1) ด้านเมตตา ครูผู้ดูแลเด็กควรมีความโอบอ้อมอารีต่อเด็กนักเรียนทุกระดับชั้น ทุกคนตลอดจนผู้ปกครองของนักเรียนทุกคน 2) ด้านกรุณา ครูผู้ดูแลเด็กควรให้ความช่วยเหลือนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 3) ด้านมุทิตา ครูผู้ดูแลเด็กควรย่องชมเชย แสดงความยินดี หรือมอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ได้กระทำความดีตามโอกาสอันควร 4) ด้านอุเบกขา ครูผู้ดูแลเด็กควรปกครองเด็กนักเรียนในชั้นเรียนด้วยความเป็นธรรม มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่นักเรียนทุกคนโดยเท่าเทียมกัน
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามตำแหน่ง อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni ผลการวิจัย พบว่า 1. ค่าเฉลี่ยการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า ค่าเฉลี่ยของระดับการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านเมตตา รองลงมา คือ ด้านอุเบกขา และด้านกรุณา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านมุทิตา 2. ค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีอายุ และประสบการณ์การทำงานต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านมุทิตา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน และค่าเฉลี่ยของการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีตำแหน่งต่างกัน ด้านเมตตา ด้านกรุณา ด้านอุเบกขา และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านมุทิตา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าพนักงานตามภารกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้พรหมวิหาร 4 เพื่อการปฏิบัติงานของครูผู้ดูแลเด็ก ในเขตอำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ที่พบว่า 1) ด้านเมตตา ครูผู้ดูแลเด็กควรมีความโอบอ้อมอารีต่อเด็กนักเรียนทุกระดับชั้น ทุกคนตลอดจนผู้ปกครองของนักเรียนทุกคน 2) ด้านกรุณา ครูผู้ดูแลเด็กควรให้ความช่วยเหลือนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 3) ด้านมุทิตา ครูผู้ดูแลเด็กควรย่องชมเชย แสดงความยินดี หรือมอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ได้กระทำความดีตามโอกาสอันควร 4) ด้านอุเบกขา ครูผู้ดูแลเด็กควรปกครองเด็กนักเรียนในชั้นเรียนด้วยความเป็นธรรม มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่นักเรียนทุกคนโดยเท่าเทียมกัน
The research served the purposes: 1) to study child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind (Brahmavihara) to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of Buddhism’s meritorious schools though Kaset Wisai district of Roi Et province, 2) to draw comparisons between their applications with different variables of their positions, ages, and work experiences, 3) to examine suggestions for enhancing their applications of its four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of such schools. The sampling groups comprised 127 child minders-cum-teachers working at preschoolers’ healthcare centres mentioned. The research instrument was the questionnaire with content validity of each question ranging from 0.67 to 1.00, and reliability at 0.95. Data were processed with the computer software package to seek for frequencies, percentages, arithmetic means, standard deviations, F-test for testing differences of arithmetic means, and pair differences through Bonferroni’s method. Results of findings: 1. Arithmetic means of child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of Buddhism’s meritorious schools throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have been found using at the high scale in the overall aspect. With one single aspect taking into consideration, the aspect with the high arithmetic mean is loving kindness (Metta). The next two aspects with lower arithmetic means are equanimity (Upekkha) and compassion (Karuna). The remaining aspect with the lowest arithmetic mean is sympathetic joy (Mudita). 2. Arithmetic means of child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of meritorious schools belonging to Buddhist temples throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have confirmed that their different ages and work experiences have the same arithmetic means of their applications in each of four aspects and the overall one. Likewise, their different positions have manifested the same arithmetic means in the overall aspect in loving kindness (Metta), compassion (Karuna) and equanimity (Upekkha). Unlike their different positions, arithmetic means of using sympathetic joy (Mudita) have become different with the statistical significance level at 05. Precisely, the sampling groups with state officials have had higher arithmetic means of their applications than those with interim authorities, with the statistical significance level at .05. 3. Results of studying suggestions for enhancing child minders-cum-teachers’ applications of Buddhism’s four sublime states of mind to their work performances at preschoolers’ healthcare centres of meritorious schools belonging to Buddhist temples throughout Kaset Wisai district of Roi Et province have been recommended as follows: 1) As to loving kindness (Metta), child minders-cum-teachers ought to be generous to every preschooler at all levels, including every preschooler’s guardians. 2) Relating to compassion (Karuna), they should render assistance to every preschooler, especially those who are unable to help themselves. 3) Regarding sympathetic joy (Mudita), they should be honoured, praised, congratulated and prizes given in a suitable occasion to those who have performed good deeds. 4) Concerning equanimity, they should have to take good care of every preschooler in the class with fairness and justice, giving equality to each of them all.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    สิ่งพิมพ์ สกศ. ลำดับที่ 45/2561
Note: สิ่งพิมพ์ สกศ. ลำดับที่ 45/2561
TOC:
  • ความเป็นมาการยกย่องเชิดชูเกียรติครูภูมิปัญญาไทย
  • ประกาศการยกย่องเชิดชูเกียรติครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 9
  • ครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 9
  • นายจันทร์ ชาญแท้
  • นางพิมพา มุ่งงาม
  • นางรุจาภา เนียนไธสง
  • นางสมสมัย เขาเหิน
  • นายมงคลชัย เสเล
  • นายเอียะ สายกระสุน
  • นายอภิวิชญ์ นวลแก้ว
  • นายวิเชียร ผลเจริญ
  • นางธนพร อินทร์ธิราช
  • นายลำดวน สุวรรณภูคำ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561