Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ของประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวนประชากรทั้งหมด 13,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 372 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการลดการเกิดขยะมูลฝอย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการนำกลับมาใช้ซ้ำ ส่วน ด้านการนำกลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอ ทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ของประชาชน ที่มี อายุต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนเพศ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ ได้แก่ ภาครัฐควรรณรงค์ให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมายเห็นความสำคัญของการแยกประเภทขยะก่อนนำไปทิ้ง ภาครัฐควรจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ในเรื่องการลดการเกิดขยะมูลฝอย จัดทำโครงการหรือประสานให้มีการดำเนินโครงการที่เน้นการลดและใช้ประโยชน์ขยะชุมชน จัดให้มีการให้ความรู้แก่ประชาชน ในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภท ทั้งที่บ้าน โรงเรียน และสำนักงาน เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ของประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากร ได้แก่ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวนประชากรทั้งหมด 13,286 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 372 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการลดการเกิดขยะมูลฝอย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านการนำกลับมาใช้ซ้ำ ส่วน ด้านการนำกลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการจัดเก็บขยะมูลฝอยตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอ ทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ของประชาชน ที่มี อายุต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนเพศ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการจัดเก็บขยะมูลฝอยของประชาชนตามหลัก 3R ในเทศบาลตำบลชะมาย อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ ได้แก่ ภาครัฐควรรณรงค์ให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะมายเห็นความสำคัญของการแยกประเภทขยะก่อนนำไปทิ้ง ภาครัฐควรจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่ประชาชน ในเรื่องการลดการเกิดขยะมูลฝอย จัดทำโครงการหรือประสานให้มีการดำเนินโครงการที่เน้นการลดและใช้ประโยชน์ขยะชุมชน จัดให้มีการให้ความรู้แก่ประชาชน ในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยแต่ละประเภท ทั้งที่บ้าน โรงเรียน และสำนักงาน เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
The objectives of this thematic paper were as follows: 1) To study the management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare the management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province in terms of sexes, ages, degrees of education, occupations and monthly incomes as differently. 3) To study the suggestion were concerned with promotion on the management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province. The population were people in in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province, totally 13,286 persons, sample size according to the table of R.V. Krejci and D.W.Morgan, got the sample at the number of 372 persons. The instrument for data collection was questionnaire both closed and open-end questions. Data analysis by package computer program, The statistics were used as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test, F-test and LSD method. The results reveal that: 1) The management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province by overviews are at high level, when consider in each aspects from more to less find that the aspect of garbage reduce is the highest mean and follow up the aspect of reuse and the aspect of recycle is the lowest mean, respectively. 2) The comparative results of management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province in term of age find that there are different as statistical significance at .001, in term of degree of education find that there are different as statistical significance at .05, in term of sex, occupation and monthly income found that there were not different as statistical significance at .05. 3) The suggestion are concerned with promotion on management of garbage of people according to 3Rs model in Tambol Chamai municipality, Thungsong district, Nakhon Si Thammarat province find that there should have campaign on garbage separation before throwing, to have training for more awareness in reduction of garbage, to have project for making a reduction and using of garbage in community in each types of garbage at home, school, and office for insert on the process of recycle
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชลตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล ตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชนที่มี เพศ อายุ และอาชีพแตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล ตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนนิศาชล จำนวน 203 ครัวเรือน ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากแบบทดแทน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณาโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการลดการใช้มูลฝอย มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาคือ ด้านการนำมูลฝอยมาใช้ซ้ำ และด้านการแปรรูปมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด 2) การจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ และอาชีพ ต่างกัน มีการจัดการมูลฝอยโดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการจัดการมูลฝอยชุมชนนิศาชล 1) ด้านการลดการใช้มูลฝอย ควรมีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนนิศาชล ตระหนักถึงปัญหาของมูลฝอย และประโยชน์ของการลดการใช้มูลฝอยและกำจัดมูลฝอยอย่างถูกวิธี เพื่อทำให้ชุมชนสะอาดและน่าอยู่อาศัยมากยิ่งขึ้น 2) ด้านการนำมูลฝอยมาใช้ซ้ำ ควรมีนโยบายการนำมูลฝอยที่ผ่านการใช้งานแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ในลักษณะของนโยบายหลักขององค์กรที่ดีการให้ประชาชนดำเนินการตามอย่างต่อเนื่องและประชาสัมพันธ์นำนโยบายไปปฏิบัติเป็นตัวอย่างให้กับชุมชนอื่น ๆ และ3) ด้านการแปรรูปมูลฝอยมาใช้ใหม่ สงเสริมนโยบายให้ในครอบครัวของตนและให้ความรู้เกี่ยวกับการนำมูลฝอยมาแปรรูปและมาใช้ใหม่หรือขายต่อเพื่อเพิ่มรายได้ให้แกประชาชนในชุมชนและมีนโยบายส่งเสริมเป็นตัวอย่างให้กับชุมชนอื่น
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชลตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล ตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาชนที่มี เพศ อายุ และอาชีพแตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล ตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชนนิศาชล จำนวน 203 ครัวเรือน ผู้วิจัยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากแบบทดแทน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณาโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการลดการใช้มูลฝอย มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาคือ ด้านการนำมูลฝอยมาใช้ซ้ำ และด้านการแปรรูปมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด 2) การจัดการมูลฝอยของชุมชนนิศาชล พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ และอาชีพ ต่างกัน มีการจัดการมูลฝอยโดยรวมทั้ง 3 ด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการจัดการมูลฝอยชุมชนนิศาชล 1) ด้านการลดการใช้มูลฝอย ควรมีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนนิศาชล ตระหนักถึงปัญหาของมูลฝอย และประโยชน์ของการลดการใช้มูลฝอยและกำจัดมูลฝอยอย่างถูกวิธี เพื่อทำให้ชุมชนสะอาดและน่าอยู่อาศัยมากยิ่งขึ้น 2) ด้านการนำมูลฝอยมาใช้ซ้ำ ควรมีนโยบายการนำมูลฝอยที่ผ่านการใช้งานแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ในลักษณะของนโยบายหลักขององค์กรที่ดีการให้ประชาชนดำเนินการตามอย่างต่อเนื่องและประชาสัมพันธ์นำนโยบายไปปฏิบัติเป็นตัวอย่างให้กับชุมชนอื่น ๆ และ3) ด้านการแปรรูปมูลฝอยมาใช้ใหม่ สงเสริมนโยบายให้ในครอบครัวของตนและให้ความรู้เกี่ยวกับการนำมูลฝอยมาแปรรูปและมาใช้ใหม่หรือขายต่อเพื่อเพิ่มรายได้ให้แกประชาชนในชุมชนและมีนโยบายส่งเสริมเป็นตัวอย่างให้กับชุมชนอื่น
This thematic paper had the following objectives: 1) to study solid waste management of Nisachon community, Om Yai Subdistrict, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province; 2) to compare solid waste management of Nisachon community, Om Yai Subdistrict, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province, of people with different gender, age and occupation; and 3) to suggest solid waste management guidelines for the Nisachon community, Om Yai Subdistrict, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province. It was a survey research. The sample consisted of 203 people living in the Nisachon community. The researcher used a random sampling method to use probability, with simple random methods by drawing a replacement label. The tools used in the research were questionnaires with the reliability of 0.95. The statistics used for data analysis were statistics, frequency (percentage), mean( ) and standard deviation (SD). T-test and One-Way ANOVA test were used when there were significant differences at the level of 0.05, and the differences were analyzed by pairing, and by the method of Scheffé. The research was found as follows: 1) In the Solid Waste Management of the Nisachon Community, including the three aspects, was at the highest level. When considered by sorting the average from descending to the highest, it was found that the reduction of solid waste was with the highest mean value, followed by reuse of solid waste, and reuse of processed solid waste was with the least average. 2) In the Solid Waste Management of the Nisachon community, It was found that people with different gender, age and occupation had no different solid waste management, including 3 aspects. 3) In the Guidelines for Nisachon Community Solid Waste Management, it was suggested as follows: (1) In the Reduction of Solid Waste Should, there should have a policy to encourage people in the Nisachon community to be aware of the problems of solid waste and the benefits of reducing waste and waste disposal correctly, and to make the community cleaner and more livable; (2) In the Reuse of Solid Waste, there should be a policy of using solid waste that had been recycled and reused in the form of good corporate core policies, there should be continuous public action, and publicizing policies into other examples for other communities; and (3) In the Transformation and Reuse of Solid waste, there should be promoting policies in families and providing knowledge about the processing of solid waste to be used and reused or resold to increase income for people in the community and having a policy to promote as examples for other communities
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551