Search results

33,640 results in 0.12s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บ้านเกิดและชัวิตช่วงปฐมวัย
  • มีครอบครัว
  • ปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ
  • การปฏิบัติธรรมในวัดป่าพุทธยาน
  • จาริกและเผยแผ่ธรรม
  • วัดป่าสุคะโตเมื่อแรกมาอยู่
  • ท่ามะไฟหวานกับงานพัฒนาชุมชน
  • อนุรักษ์ป่าสุคะโต
  • งานกรรมฐาน
  • งานในปัจฉิมวัย
  • สอนธรรมต่างประเทศ
  • อาพาธของหลวงพ่อ
  • ธรรมยาตราลำปะทาว
  • หลวงพ่อละสังขาร
  • งานปลงศพของหลวงพ่อ
  • ภาคผนวก
หนังสือ

หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการและ วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ 2) เพื่อศึกษาความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติและ 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติจากเอกสารและสำรวจ พร้อมด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องจากตัวอย่างมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6 แห่งที่ประสบความสำเร็จในการบริหารหลักสูตรนานาชาติ 2) สำรวจความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติ โดยการศึกษาเอกสารหลักสูตร และการบริหารมหาวิทยาลัยพร้อมกับสัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 11 ท่าน และจัดสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ 16 ท่านเพื่อวิเคราะห์สภาพความพร้อมและ 3) ผู้วิจัยยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารมหาวิทยาลัยนานาชาติ 5 ท่านตรวจสอบรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า 1. วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ มีลักษณะ 6 ประการ คือ 1) การบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ 2) เปิดหลักสูตรซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนระดับสากล 3) รับนักศึกษาหลายเชื้อชาติ 4) ผู้สอนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต้องมีความรู้ความสามารถและทักษะการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล 5) กิจกรรมการเรียนรู้ต้องเป็นสากลเชื่อมโยงกับเครือข่ายนานาชาติได้และ 6) ทรัพยากรสนับสนุนการศึกษาต้องมาจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามลำดับ และผลการสำรวจความพร้อมในการบริหารการศึกษานานาชาติในระดับปฏิบัติการ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านนักศึกษา ด้านกิจกรรมนานาชาติและด้านผู้สอนตามลำดับ 3.
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการและ วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ 2) เพื่อศึกษาความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติและ 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติจากเอกสารและสำรวจ พร้อมด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องจากตัวอย่างมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6 แห่งที่ประสบความสำเร็จในการบริหารหลักสูตรนานาชาติ 2) สำรวจความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติ โดยการศึกษาเอกสารหลักสูตร และการบริหารมหาวิทยาลัยพร้อมกับสัมภาษณ์ผู้บริหาร จำนวน 11 ท่าน และจัดสัมมนาผู้เชี่ยวชาญ 16 ท่านเพื่อวิเคราะห์สภาพความพร้อมและ 3) ผู้วิจัยยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารมหาวิทยาลัยนานาชาติ 5 ท่านตรวจสอบรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลการวิจัย พบว่า 1. วิธีการบริหารจัดการการศึกษานานาชาติ มีลักษณะ 6 ประการ คือ 1) การบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ 2) เปิดหลักสูตรซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนระดับสากล 3) รับนักศึกษาหลายเชื้อชาติ 4) ผู้สอนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต้องมีความรู้ความสามารถและทักษะการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานสากล 5) กิจกรรมการเรียนรู้ต้องเป็นสากลเชื่อมโยงกับเครือข่ายนานาชาติได้และ 6) ทรัพยากรสนับสนุนการศึกษาต้องมาจากการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 2. ความพร้อมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยในการเปิดหลักสูตรนานาชาติโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการผลิตบัณฑิต และด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามลำดับ และผลการสำรวจความพร้อมในการบริหารการศึกษานานาชาติในระดับปฏิบัติการ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางในทุกด้าน โดยมีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านนักศึกษา ด้านกิจกรรมนานาชาติและด้านผู้สอนตามลำดับ 3.
ข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การจัดการตามหน้าที่ของมหาวิทยาลัยสู่ความเป็นนานาชาติ มี 6 ด้าน คือ (1.1) รายละเอียดนโยบายของมหาวิทยาลัย มี 7 ประการ (1.2) การผลิตบัณฑิต มี 9 ประการ (1.3) การบริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคม มี 6 ประการ (1.4) การวิจัยของสถาบัน มี 5 ประการ (1.5) การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มี 4 ประการ และ (1.6) การบริหารจัดการงานทั่วไป มี 10 ประการ ส่วนที่ 2 การบริหารการศึกษานานาชาติ มี 5 ด้าน คือ (2.1) การบริหารหลักสูตร มี 5 ประการ (2.2) การบริหารงานทั่วไปนานาชาติ มี 5 ประการ (2.3) ด้านนักศึกษา มี 4 ประการ (2.4) ด้านผู้สอน และ (2.5) ด้านกิจกรรมนานาชาติ มี 5 ประการ ผลการตรวจสอบให้การรับรองข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารการศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ฉบับนี้ มีความถูกต้อง มีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม และมีประโยชน์ในการนำไปใช้งานได้จริง ฯ
The objectives of this dissertation were: 1) to study meanings, concepts, principles and methods of international education administration, 2) to study the readiness of Mahamakut Buddhist University to open an international program, and 3) to make a policy proposal for International Education Administration at Mahamakut Buddhist University. The research had 3 steps: 1) to Study the criteria of the Office of the Higher Education Commission regarding the international education administration from documents and surveys along with in-depth interviews with experts and relevant people from 6 national and international universities having achievement in international program management, 2) to explore the readiness of Mahamakut Buddhist University in opening an international program by studying curriculum documents and university administration, along with interviewing 11 executives and group discussions with 16 experts, and 3) to draft the policy proposal for international education administration of Mahamakut Buddhist University and then the drafted proposal was examined and approved by 5 experts in international education administration. The results of the study were as follows: 1. The international educational management system consists of 6 aspects: 1) Integrated Management, 2) The curriculum accepted by the international community, 3) Enrollment of multi-racial students, 4) Knowledge and skills in learning management according to international standards of both Thai and foreign teachers, 5) The link of learning activities to international networks, and 6) Involvement of all parties for learning support resources. 2. The readiness of Mahamakut Buddhist University to open the international program was at a moderate level overall and in each aspect. The descending order was as follows: education management, research, social academic service, graduate production, and art and culture conservation respectively. The readiness in the operational level was at a moderate level totally and in all aspects. The highest level was on general administration, followed by curriculum administration, students, international activities, and instructors respectively. 3. The policy proposal for international education administration of Mahamakut Buddhist University consists of 2 parts; Part 1: The university duty management to internationalization has 6 areas; (1.1) details of the university policy in 7 aspects, (1.2) graduate production with 9 aspects, (1.3) Buddhist academic services to society in 6 aspects, (1.4) institutional research in 5 aspects, (1.5) art and culture conservation in 4 aspects, and (1.6) general management in 10 aspects. Part 2: International Education Administration has 5 aspects; (2.1) Curriculum Administration in 5 aspects, (2.2) International General Administration in 5 aspects, (2.3) Students in 4 aspects, (2.4) Teachers, and (2.5) international activities in 5 aspects. The examination results confirm the policy proposal of the International Education Administration of Mahamakut Buddhist University with correctness, possibility, appropriateness, and implementation.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง ที่มี เพศ อายุ และระดับการศึกษา แตกต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มาใช้บริการศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จเทศบาลเมือง ไร่ขิง จำนวน 251 คน ตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Random Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ โดยรวม อยู่ในระดับมาก พิจารณารายด้านพบว่า มากที่สุดคือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ รองลงมาคือ ด้านการอำนวยความสะดวก และต่ำสุดคือ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชน ที่มีเพศ และอายุ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ที่มีระดับการศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ประชาชนได้เสนอแนวทางด้านการกำหนดนโยบายจุดเดียวเบ็ดเสร็จคือ ควรปรับปรุงสถานที่จอดรถให้เพียงพอกับประชาชนที่มาใช้บริการศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ ควรสำรวจความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และควรเพิ่มให้บริการแก่ผู้สูงอายุ และผู้พิการ เช่น บริการเข็นรถ และน้ำดื่ม
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง ที่มี เพศ อายุ และระดับการศึกษา แตกต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่มาใช้บริการศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จเทศบาลเมือง ไร่ขิง จำนวน 251 คน ตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Random Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ โดยรวม อยู่ในระดับมาก พิจารณารายด้านพบว่า มากที่สุดคือ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ รองลงมาคือ ด้านการอำนวยความสะดวก และต่ำสุดคือ ด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชน ที่มีเพศ และอายุ มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ที่มีระดับการศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำนโยบายศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จไปปฏิบัติในเทศบาลเมืองไร่ขิง โดยรวม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ประชาชนได้เสนอแนวทางด้านการกำหนดนโยบายจุดเดียวเบ็ดเสร็จคือ ควรปรับปรุงสถานที่จอดรถให้เพียงพอกับประชาชนที่มาใช้บริการศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ ควรสำรวจความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และควรเพิ่มให้บริการแก่ผู้สูงอายุ และผู้พิการ เช่น บริการเข็นรถ และน้ำดื่ม
The objectives of this thematic paper were: 1) to study implementation of one stop service policy on Raikhing Municipality; 2) to study and compare implementation of one stop service policy on Raikhing Municipality, classified with different gender, age and education level and 3) to suggest guidelines for implementation of one stop service policy on Raikhing Municipality. The used tools in the research were questionnaires. The sample group was 251 people who came to use one stop service. Convenience Random Sampling was used in data collection. The statistics used are Use descriptive statistics such as frequency, percentage, average ( ), standard deviation (SD) and inference statistics or reference, such as t-test, one-way variance test, F-test. (One-Way ANOVA). If significant differences were found, the mean difference will be tested in pairs by means of LSD (Least Significant Difference) and by using data analysis and computer processing. The results of the research were found as follows: 1) Implementation of one-stop service policy on Raikhing Municipality was at a high level. Considering each aspect, it was found that the most was the aspect of service personnel, followed by the aspect of facilitation and the lowest was the aspect of service process. 2) In the hypothesis testing, it was found that people with different sex and age had no different opinions about implementation of one stop service policy on Raikhing Municipality. But the people with different education had different opinions about implementation of one stop service policy on Raikhing Municipality, as a whole, with statistical significance at the level of 0.05. 3) The people had suggested guidelines for the one stop policy formulation as follows: There should improve the parking place to be sufficient for the people who used the service center; there should explore the needs of the people about the one stop service; and there should be added to serve the elderly and people with disabilities such as wheelchair and drinking water services.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ส่งคืนแก้ไข
Note: ส่งคืนแก้ไข