Search results

33,640 results in 0.29s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
The objectives of this thesis were : 1) to study the duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the duty of students in Theravada Buddhist philosophy and 3) to analyze the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy which was a qualitative research by studying the Tripitaka, commentaries, books, documents, related research and another. The results of research found that 1) The duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy were to perform their duty to their students as follows: 1) giving good advice, 2) studying well, 3) teaching students well with all the arts, 4) praising them to their friends and 5) making defenses in all directions. 2) The duty of the disciples in Theravada Buddhist philosophy was to perform their duty to teachers as follows: 1) getting up to welcome, 2) serving closely, 3) obeying the instruction, 4) serving and 5) studying all the arts with respect. 3) The results of an analysis of the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy were who known as good teachers and students according to their duties in Buddhism must be a person who has sacrificed their own private time at any time with love and kindness towards the disciples. Yearning to appreciate the achievements of the disciples and be able to apply the knowledge gained in daily life. Both in terms of career that were used to support themselves and their families, the etiquette of social coexistence, gratitude to the teachers by behaving a good person with knowledge and morality of society. Keywords : Duty, Teachers and students, Theravada Buddhist philosophy
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและสมัยปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและปัจจุบันเพื่อเข้าถึงเป้าหมาย หลักการและวิธีที่ใช้ประกาศพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์ในฐานะธรรมราชา ทรงมีรูปแบบและวิธีการเผยแผ่ที่หลากหลาย และทรงประกอบด้วยคุณสมบัติของนักเผยแผ่ผู้ยอดเยี่ยม โดยการคำนึงถึงประโยชน์สุขอย่างยั่งยืนของผู้ฟังเป็นสำคัญ ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาด้วยวิธีการเชิงรุก จากการศึกษาทรรศนะและวิธีการประกาศพระศาสนาของพระองค์นั้น พบว่ากระทำโดยคณะสงฆ์เป็นหลัก มีพระพุทธเจ้าทรงเป็นประธาน เป็นผู้นำทัพธรรมพร้อมด้วยการสนับสนุนของเหล่าอุบาสกอุบาสิกา โดยมีองค์ประกอบของแนวทาง คือ เป้าหมาย เพื่อประกาศแบบแผนในการดำรงชีวิตที่ดีงามตามที่พระองค์ทรงค้นพบให้ชาวโลกได้รับรู้และนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข และเพื่อสันติภาพของมวลมนุษย์โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน หลักการเผยแผ่แยกเป็นสามส่วน คือ (1) หลักการแห่งพระธรรมวินัยทั้งมวล (2) หลักการเผยแผ่ และ (3) หลักการว่าด้วยคุณธรรมของผู้ทำการเผยแผ่ แม้ในสมัยหลังพุทธกาลถึงปัจจุบันพระธรรมกถึกก็ยังปฏิบัติตามหลักการเป็นนักเผยแผ่หลักธรรมคำสอนแบบเชิงรุกโดยการประยุกต์หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน และให้ทันสมัยอยู่ทุกเมื่อจนเป็นที่ยอมรับของพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุกว่า เป็นการเผยแผ่เชิงรุกอย่างแท้จริง 2) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นงานที่ดำเนินตามกฎ ระเบียบ และคำสั่งของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก มีรูปแบบและวิธีการการเผยแผ่ที่หลากหลาย แต่ละรูปแบบก็มีวิธีการแตกต่างกันออกไป ตามคตินิยม ความเชื่อสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ส่วนเนื้อหาหลักธรรมที่ใช้ในการเผยแผ่นั้นไม่มีรูปแบบที่ตายตัวซึ่งพระธรรมกถึกสามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้ในการเผยแผ่ได้ด้วยตัวเอง ส่วนเรื่อเทคนิควิธีการเผยแผ่ เป็นความสามารถเฉพาะบุคคล และการหมั่นพัฒนาความสามรถในการเผยแผ่ของตนเอง และเทคนิควิธีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ฟัง 3) พระธรรมกถึกมีการใช้เนื้อหาหลักธรรมหลายหมวด รวมทั้งข้อคิดคำคมในสถานการณ์ปัจจุบันมาใช้ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเพศ วัย อาชีพ สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีการใช้หลักธรรมร่วมกับการทำกิจกรรมสร้างสรรค์ สื่อการสอนประกอบในการเผยแผ่ที่นำมาใช้แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรู้ ความชำนาญของพระธรรมกถึกแต่ละรูป และขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ฟัง ในส่วนของการได้รับประโยชน์และคุณค่านั้นโดยภาพรวม พบว่าผู้ฟังได้รับประโยชน์ทั้งด้านกายภาพ ด้านจิตภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมในระดับที่ดีขึ้น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและสมัยปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และ 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและปัจจุบันเพื่อเข้าถึงเป้าหมาย หลักการและวิธีที่ใช้ประกาศพระธรรมวินัยของพระพุทธองค์ในฐานะธรรมราชา ทรงมีรูปแบบและวิธีการเผยแผ่ที่หลากหลาย และทรงประกอบด้วยคุณสมบัติของนักเผยแผ่ผู้ยอดเยี่ยม โดยการคำนึงถึงประโยชน์สุขอย่างยั่งยืนของผู้ฟังเป็นสำคัญ ทำให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนาด้วยวิธีการเชิงรุก จากการศึกษาทรรศนะและวิธีการประกาศพระศาสนาของพระองค์นั้น พบว่ากระทำโดยคณะสงฆ์เป็นหลัก มีพระพุทธเจ้าทรงเป็นประธาน เป็นผู้นำทัพธรรมพร้อมด้วยการสนับสนุนของเหล่าอุบาสกอุบาสิกา โดยมีองค์ประกอบของแนวทาง คือ เป้าหมาย เพื่อประกาศแบบแผนในการดำรงชีวิตที่ดีงามตามที่พระองค์ทรงค้นพบให้ชาวโลกได้รับรู้และนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุข และเพื่อสันติภาพของมวลมนุษย์โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน หลักการเผยแผ่แยกเป็นสามส่วน คือ (1) หลักการแห่งพระธรรมวินัยทั้งมวล (2) หลักการเผยแผ่ และ (3) หลักการว่าด้วยคุณธรรมของผู้ทำการเผยแผ่ แม้ในสมัยหลังพุทธกาลถึงปัจจุบันพระธรรมกถึกก็ยังปฏิบัติตามหลักการเป็นนักเผยแผ่หลักธรรมคำสอนแบบเชิงรุกโดยการประยุกต์หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน และให้ทันสมัยอยู่ทุกเมื่อจนเป็นที่ยอมรับของพระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุกว่า เป็นการเผยแผ่เชิงรุกอย่างแท้จริง 2) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นงานที่ดำเนินตามกฎ ระเบียบ และคำสั่งของศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึก มีรูปแบบและวิธีการการเผยแผ่ที่หลากหลาย แต่ละรูปแบบก็มีวิธีการแตกต่างกันออกไป ตามคตินิยม ความเชื่อสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ส่วนเนื้อหาหลักธรรมที่ใช้ในการเผยแผ่นั้นไม่มีรูปแบบที่ตายตัวซึ่งพระธรรมกถึกสามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้ในการเผยแผ่ได้ด้วยตัวเอง ส่วนเรื่อเทคนิควิธีการเผยแผ่ เป็นความสามารถเฉพาะบุคคล และการหมั่นพัฒนาความสามรถในการเผยแผ่ของตนเอง และเทคนิควิธีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ฟัง 3) พระธรรมกถึกมีการใช้เนื้อหาหลักธรรมหลายหมวด รวมทั้งข้อคิดคำคมในสถานการณ์ปัจจุบันมาใช้ โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับเพศ วัย อาชีพ สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง มีการใช้หลักธรรมร่วมกับการทำกิจกรรมสร้างสรรค์ สื่อการสอนประกอบในการเผยแผ่ที่นำมาใช้แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรู้ ความชำนาญของพระธรรมกถึกแต่ละรูป และขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ฟัง ในส่วนของการได้รับประโยชน์และคุณค่านั้นโดยภาพรวม พบว่าผู้ฟังได้รับประโยชน์ทั้งด้านกายภาพ ด้านจิตภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมในระดับที่ดีขึ้น
The objectives of this thesis were : 1) to study the propagation of Buddhism in the Buddhist era and the present time 2) to study the propagation Buddhism of the Northeastern Phradhammakatuk Training Center (Preacher Training Center) at Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province and 3) to analyze the pattern of Buddhism propagation of the Northeastern Phradhammakatuk Training Center at Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province and use the data to analyze the contents. The results of the research found that: 1)The propagation of Buddhism in the Buddhist time and present time to approach the goal. Principles and methods used to preach the Dharma and discipline of Buddha as a Dharma Raja which had various forms and methods of propagation and possessed the qualities of a great missionary by considering to the sustainable benefits of listeners. Let us know that the Buddha preached his religion with an aggressive approach. From the study of his views and methods of preaching on his religion found that acts mainly by the clergy. The Buddha was a president, the leader of the Dharma Army with support with churchman and churchwoman. The elements of the approach were the goal for announcing the pattern of a good living as he discovered as he discovered for human to know and implement for the benefit, happiness, and peace of human, with the ultimate goal was Nirvana. The principle of propagation divided into 3 parts: (1) Principles of all disciplines, (2) principles of propagation and (3) principles of the whole morality of missionaries. Even in the post-Buddhist era until at present, Phradhammakatuk still following the principle of proactive doctrinal missionary principles by applying Buddhist doctrines to keep up with current events and to be up-to-date at all times until it is accepted by proactive Buddhist propaganda by applying Buddhist doctrines to keep up with current events. 2) Propagation of Buddhism at the Northeastern Phradhammakatuk Training Center Wat Bueng Phra Lan Chai, Phra Aram Luang, Muang Roi Et District, Roi Et Province was performed according to the rules, regulations and orders of the Pradhammakatuk Training Center. There were various forms and methods of propagation. It was different from each other based on ideology, beliefs, social environment, economy and politics. In part of the contents of the dharma principles used in propagating, there was no fixed form which the Phradhammakatuk could apply the dharma principles can be used to propagate by their own. In case of techniques of propagation, it was an individual ability and diligently developing the ability to propagate their own and modern techniques for the greatest benefit to the listeners. 3) Phradharmakatuek used the content of dharma principles in many categories. Including of thought and quotes in the current situation to use by considering gender suitability, age, occupation, economic environment, society and politics. The principles of dharma were used in conjunction with creative activities, teaching materials used in propagation differ depending on the knowledge, proficiency of each Phradhammakathuk, and depends on the environment in which the listener is involved. In terms of the benefits and values by are overall, It was found that the listeners benefited both physically, mentally, economically, and socially at a better level.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา 3) เพื่อหาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท กลุ่มเป้าหมาย คือ บิดามารดาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 15 ครอบครัว ที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่เป็นออทิสติก โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง จากสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ อำเภอแม่ริม เชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1) การเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักธรรมในพุทธศาสนาที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในครอบครัว เพื่อการเลี้ยงดูบุตรธิดา คือ พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ฆราวาสธรรม 4 เบญจศีล ทิศ 6 และไตรสิกขา 3 2) การเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา พบว่า บิดามารดาปฏิบัติตามแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษ จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ โดยเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการที่บกพร่องให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการเด็ก 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม 3) แนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทพบว่า บิดามารดา ได้นำแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษมาเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตั้งใจ และความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูบุตรธิดา พร้อมศึกษาหาแนวทางในการเลี้ยงดูบุตรธิดาทุกระยะ ซึ่งหลักการปฏิบัติของบิดามารดา ตรงกับหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท ในหลักไตรสิกขา 3 คือ การมี อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา 3) เพื่อหาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท กลุ่มเป้าหมาย คือ บิดามารดาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 15 ครอบครัว ที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่เป็นออทิสติก โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง จากสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ อำเภอแม่ริม เชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1) การเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักธรรมในพุทธศาสนาที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในครอบครัว เพื่อการเลี้ยงดูบุตรธิดา คือ พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ฆราวาสธรรม 4 เบญจศีล ทิศ 6 และไตรสิกขา 3 2) การเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา พบว่า บิดามารดาปฏิบัติตามแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษ จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ โดยเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการที่บกพร่องให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการเด็ก 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม 3) แนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทพบว่า บิดามารดา ได้นำแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษมาเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตั้งใจ และความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูบุตรธิดา พร้อมศึกษาหาแนวทางในการเลี้ยงดูบุตรธิดาทุกระยะ ซึ่งหลักการปฏิบัติของบิดามารดา ตรงกับหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท ในหลักไตรสิกขา 3 คือ การมี อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study the raising of children according to Theravada Buddhist Philosophy, 2) to study the guidelines for raising children with special needs of parents, 3) to find guidelines for raising children according to Theravada Buddhist philosophy. The target group was parents of 15 families raising their children with special needs who were raising their children with autism by purposive selection from Rajanagarindra Institute of Child Development, Mae Rim district, Chiang Mai. The instrument used for data collection was an in-depth interview and data were analyzed by descriptive method. The results of research were found that: 1) In raising children according to Theravada Buddhist philosophy, it was found that Buddhist principles could be applied in families for raising children, namely, 4 Brahmavihārās, 4 Saṅgahavatthus, 4 Gharāvāsadhammas, 5 Sīlas, 6 Disas and 3 Sikkhās. 2) In raising children with special needs of parents, it was found that parents followed the guidelines for raising special children from specialists in treating and promoting the development of special children from Rajanagarindra Institute of Child Development by raising and promoting developmental defects in accordance with the principles of child development in 4 areas; physical, mental, emotional and social. 3) The guidelines for raising children with special needs according to Theravada Buddhist philosophy was found that parents had continually adopted special childcare guidelines as a guideline with intention and discipline, responsibility for raising children. They were ready to study and find guidelines to raise children at every stage and the principles of conduct of parents corresponded to the Buddhist principles in Theravada Buddhist philosophy as 3 Sikkhās, namely, the upholding of Sīlasikkhā, Cittasikkhā and Paññāsikhā.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สันติภาพโดยทรรศนะ
  • เงื่อนปมความขัดแย้งและธรรมชาติด้านลบของมนุษย์
  • พระพุทธศาสนามองสันติภาพอย่างไร
  • หลักธรรมที่เป็นกฎจริยธรรมเพื่อสันติภาพ
  • ท่าที่ต่อความขัดแย้งของพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร
  • รูปแบบการกำจัดความขัดแย้งเพื่อสันติภาพเชิงพุทธเป็นอย่างไร
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564) วารสารฉบับนี้ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพ กลุ่มที่ 2 ของศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย Thai-journal Citation Index Centre (TCI)
Note: ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564) วารสารฉบับนี้ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพ กลุ่มที่ 2 ของศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย Thai-journal Citation Index Centre (TCI)
TOC:
  • บทความพิเศษ การพัฒนาบทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ และสิทธิประโยชน์อันชอบธรรม ภายใต้บริบทของการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง
  • การแก้ไขปัญหาของกระบวนการยุติธรรม : กรณีความล่าช้าในการดำเนินคดีโดยเฉพาะที่สืบเนื่องมาจากการอายัดตัวผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวน
  • บทความวิจัย ประสิทธิผลของการนำมติที่ประชมุสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษว่าด้วยปัญหายาเสพติดโลก ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) มาปฏิบัติในประเทศไทย
  • ปัญหาสถานะทางกฎหมายของประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับราชการ
  • บทความวิชาการ บทวิเคราะห์ทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในการยื่นคำร้องของประชาชนต่อศาลรัฐธรรมนุญ : กรณีการยื่นผ่านผู้ตรวจการแผ่นดิน
  • ลักษณะการปกครองท้องที่ : การศึกษาพัฒนาการระเบียบการปกครองท้องที่และหน้าที่รับผิดชอบของข้าราชการสยามระหว่าง ค.ศ. 1897-1933 (พ.ศ. 2440-2476)
  • การพิสูจน์อัตลักษณ์บุคคลศพแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย
  • คอลัมน์ประจำ ท่านทราบหรือไม่ กระทรวงพาณิชย์และกระทรวงอุตสาหกรรม จับมือแก้ไขปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์นำเข้าอย่างผิดกฎหมาย วตามที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอแนะ
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564) วารสารฉบับนี้ได้ผ่านการพิจารณาและรับรองคุณภาพวารสารให้อยู่ในฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index TCI กลุ่ม 2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Note: ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564) วารสารฉบับนี้ได้ผ่านการพิจารณาและรับรองคุณภาพวารสารให้อยู่ในฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index TCI กลุ่ม 2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
TOC:
  • บทความวิชาการ กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนบนพื้นฐานของศาสตร์พระราชา
  • การศึกษาอาหารในประเทศไทยไปสู่ฐานวิถีชีวิตใหม่
  • แม่ฮ่องสอนเมืองชายแดนภาคเหนือด้านตะวันตก : ความท้าทายต่อการพัฒนาเป็นพื้นที่พิเศษ
  • บทความวิจัย ภาพแทนสตรีในวรรณคดีไทยเรื่อง "ขุนช้างขุนแผน"
  • การใช้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการอ่านแบบ SQ6R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
  • การศึกษาวงดนตรีไทยร่วมสมัย กรณีศึกษาคณะบ้านลุ่มแบนด์
  • การปฏิสัมพันธ์ทางดนตรีภาคเหนือและดนตรีภาคกลางในช่วงหลังการเสด็จกลับนครเชียงใหม่ของพระชาชายาเจ้าดารารัศมี
  • แนวคิดกระบวนการสร้างซอด้วงจากวัสดุทดแทน (เรซิ่น) ของครูจักรี มงคล
  • ภาพลักษณ์และประสิทธิภาพของสื่อประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่มีต่อการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
  • พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ การรู้เท่าทันสื่อ และการตระหนักรู้การกลั่นแกล้งกันบนโลกออนไลน์ของเยาวชนในจังหวัดเชียงใหม่
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564)
Note: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564)
TOC:
  • นโยบายของจีนในการส่สงเสริมการพัฒนาสถาบันขงจื่อสู่ประเทสไทย
  • การแบ่งปันที่ดินของชุมชนริมทางรถไฟที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างทางรถไฟทางคู่กรณีศึกษาชุมชนเทพารักษ์ 1 และ 5 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
  • รูปแบบการส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักะรรมภิบาลด้านคุณธรรมความโปร่งใสของหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคสังกัดกระทรวงมหาดไทยในเขตจังหวัดเลย
  • ปัจจัยอุปสรรคที่ส่งผลต่อแผนการพัฒนาในพื้นที่ความมั่นคง : กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี
  • การเตรียมความพร้อมของผู้บริหาภาครัฐระดับอำเภอเพื่อรองรับความเป็นเมืองศูนย์กลางพัฒนา กรณี Smart City จังหวัดขอนแก่น
  • การสร้างความเป็นพลเมืองในสังคมไทยที่สะท้อนผ่านเนื้อหาในหนังสืออ่านนอกเวลา กลุ่มวิชาหน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาของไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
  • ศาสนาพลเมืองในบริบทเมียนมา : จากแนวคิดการสร้างชาติสู่เครื่องมือทางการเมือง
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564
Note: ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2564
TOC:
  • ย้อนคิดมโนทัศน์ความไม่แน่นอนกับความเสี่ยงในสังคมทันสมัย
  • วิกฤตโรคระบาดกับความท้าทายการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวในสังคมไทย กรณีศึกษาโรคระบาดโควิด-19 จังหวัดสมุทรสาคร
  • ความเครียดจากการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาในช่วงการระบาดของโรคโควิต-19 การตรวจสอบตัวแปรทำนายและผลลัพธ์
  • ผลกระทบและการรับมือของภาคธุรกิจที่ถึงพาแรงงานข้ามชาติในช่วงการระบาดของโควิด -19 ระลอกที่ 1
  • ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อหลักการบริการกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดีของรัฐบาล กรณีศึกาาสถานการณ์ COVID -19
  • ผลกระทบทางเศรษฐกิจจากสถาการณ์โควิด -19 ต่อหลักสูตรนานาชาติในระดับอุดมศึกษาของไทย
  • การฆ่าตัวตายในภาวะทุนนิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน
  • การท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่งวิถีใหม่ ภายหลังการระบาดของโรคโควิด -19 ในประเทศไทย
  • สังคมเรือนจำจากปากคำนักศึกษาผู้ต้องคดีการเมือง
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการทำสมาธิในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาการทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และ 3) เพื่อวิเคราะห์การทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร โดยทำการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา และปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค รวมทั้งเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนำเสนอด้วยการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สมาธิในพุทธศาสนา คือการมีจิตตั้งมั่นในอารมณ์มี 3 ระดับ คือ ขนิกสมาธิเป็นสมาธิขั้นต้นสำหรับบุคคลทั่วไป อุปจารสมาธิเป็นสมาธิขั้นระงับเป็นการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบจนตั้งมั่นเป็นสมาธิ อัปปนาสมาธิเป็นสมาธิดำรงอยู่นานสงบนิ่งแน่วแน่เป็นเอกัคคตา และวิปัสสนากรรมฐานเป็นข้อปฏิบัติในการฝึกอบรมเจริญปัญญาให้เกิดความรู้แจ้งในรูปนามโดยความเป็นไตรลักษณ์ 2) การทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านเน้นการปฏิบัติจริง ไม่เน้นความเข้าใจในหลักปริยัติ เน้นการปฏิบัติที่สมบูรณ์ในไตรสิกขา มีคำบริกรรม “พุทโธ” กำกับในอิริยาบถต่างๆ โดยกำหนดลมหายใจตามหลักอานาปานสติกัมมัฏฐาน และเน้นการปฏิบัติในทาน ศีล ภาวนา เพื่อช่วยบุคคลทั้งหลายให้มีการดำเนินชีวิตอย่างปกติ 3) หลวงปู่มั่นเน้นเรื่องการพิจารณากายหรือกายนุปัสสนาสติปัฏฐาน เริ่มจากมูลกัมมัฏฐานหรือกัมมัฏฐาน 5 คือ ผม ขน เล็บ ฟัน และหนัง ใช้อสุภกัมมัฏฐานพิจารณาให้เห็นเป็นสิ่งปฏิกูลของน่าเกลียด การปฏิบัติดังกล่าวนี้สอดคล้องกับหลักปฏิบัติเพื่อทำจิตให้บริสุทธิ์ในทางพระพุทธศาสนา นั่นคือการ ฝึกหัดจิตให้พิจารณากาย เมื่อพิจารณากายเห็นแจ้งประจักษ์ดังนี้ จิตของแต่ละบุคคลก็จะพ้นจากสมมติและอยู่ในวิมุตติ (ความหลุดพ้นจากความทุกข์)
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการทำสมาธิในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาการทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และ 3) เพื่อวิเคราะห์การทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร โดยทำการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา และปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค รวมทั้งเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนำเสนอด้วยการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สมาธิในพุทธศาสนา คือการมีจิตตั้งมั่นในอารมณ์มี 3 ระดับ คือ ขนิกสมาธิเป็นสมาธิขั้นต้นสำหรับบุคคลทั่วไป อุปจารสมาธิเป็นสมาธิขั้นระงับเป็นการฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบจนตั้งมั่นเป็นสมาธิ อัปปนาสมาธิเป็นสมาธิดำรงอยู่นานสงบนิ่งแน่วแน่เป็นเอกัคคตา และวิปัสสนากรรมฐานเป็นข้อปฏิบัติในการฝึกอบรมเจริญปัญญาให้เกิดความรู้แจ้งในรูปนามโดยความเป็นไตรลักษณ์ 2) การทำสมาธิสายพุทโธของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านเน้นการปฏิบัติจริง ไม่เน้นความเข้าใจในหลักปริยัติ เน้นการปฏิบัติที่สมบูรณ์ในไตรสิกขา มีคำบริกรรม “พุทโธ” กำกับในอิริยาบถต่างๆ โดยกำหนดลมหายใจตามหลักอานาปานสติกัมมัฏฐาน และเน้นการปฏิบัติในทาน ศีล ภาวนา เพื่อช่วยบุคคลทั้งหลายให้มีการดำเนินชีวิตอย่างปกติ 3) หลวงปู่มั่นเน้นเรื่องการพิจารณากายหรือกายนุปัสสนาสติปัฏฐาน เริ่มจากมูลกัมมัฏฐานหรือกัมมัฏฐาน 5 คือ ผม ขน เล็บ ฟัน และหนัง ใช้อสุภกัมมัฏฐานพิจารณาให้เห็นเป็นสิ่งปฏิกูลของน่าเกลียด การปฏิบัติดังกล่าวนี้สอดคล้องกับหลักปฏิบัติเพื่อทำจิตให้บริสุทธิ์ในทางพระพุทธศาสนา นั่นคือการ ฝึกหัดจิตให้พิจารณากาย เมื่อพิจารณากายเห็นแจ้งประจักษ์ดังนี้ จิตของแต่ละบุคคลก็จะพ้นจากสมมติและอยู่ในวิมุตติ (ความหลุดพ้นจากความทุกข์)
The objectives of this thesis were : 1) to study meditation in Buddhism, 2) to study the Buddho meditation of Luang Pu Mun Phuritatto, and 3) to analyze the Buddho meditation of Luang Pu Mun Phuritatto, based on Theravada Buddhist philosophy. This thesis is a documentary research by studying and analyzing data from Buddhist scriptures such as the Tripitaka, Commentary and Pakorn Vises Visuddhimagga including academic papers and related research and then presented with an analytical description. The results of the research found that: 1) Mediation in Buddhism included of 3 levels of emotional confidence namely momentary concentration(Khanikasamadhi)which means to an initial meditation for the general people, proximate concentration (Upacarasamadhi) means to calming mediation that trains the mind to be calm until it developed to concentrated, fixed concentration (Uppanasamadhi) means to a long-standing meditation, calm and firm was one-pointedness of mind, and Vipassana meditation means to the practice of training to develop wisdom to achieve enlightenment in the noun by the three characteristics(Ti-lakkhana). 2) The Buddho meditation of Luang Pu Mun Phuritatto, emphasized practicality, not focus on understanding the rules, emphasis on complete practice in threefold training (Ti-Sikkha), with the blessing of "Buddho" directed in various gestures by setting the breath according to the principle of the Anapanasati Meditation (Three fold training) and emphasized the practice in alms, precepts, and prays to help people to live a normal life. 3) Luang Pu Mun emphasizes on physical considerations, or Kayanupassana mindfulness starting from 5 Mulakammathanas included of hair, fur, nails, teeth, and skin. He uses the undesirable nature for considering to the sewage. This practice is to consistent with the practice of purifying the mind in Buddhism which is how to train the mind to consider the body. Whenever considering the enlightened body, the mind of the individual will be freed from the assumption and in liberation (free from the suffering).