Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ
  • ระเบียบวิธีวิจัย
  • ตัวชี้วัดประชาธิปไตยในบริบทของสังคมไทย
  • ผลการสำรววจความคิดเห็นของประชาชน ปี พ.ศ. 2563
  • ผลการประเมินตัวชี้วัดประชาธิปไตยเปรียบเทียบ ปี พ.ศ. 2560-2563
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2548
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บริบทของสถาปัตยกรรมไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • วิชาชีพสถาปนิกในสมัยรัชกาลที่ 7
  • สถาปัตยกรรมใต้ร่มฉัตรรัชกาลที่ 7
  • สรุป : สถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 7
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • Thai Society and the Massive Adaptation after COVID
  • COVID-19, Proof of Readiness and Reflection for Thai Society
  • Inequality in Thai Society : Turning the COVID-19 Crisis into an Opportunity
  • Disease Changes the World - Disease Changes the State : Epidemics and the New Landscape After COVID-19
  • Challenges and Solutions for the Labor System after COVID
  • The Spread of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) and the Role of Local Government in Managing Local Problems
  • Sustainable Universal Welfare : Proposals from COVID-19
  • Reducing Inequality in Education Management : 30-Year Lessons from the Jomtien Declaration to a New Way of Studying in Thailand after COVID-19
  • Productive and Protected welfare : Thai Social immunity
  • Opportunities of New Normal in Thai Public Administration
  • Social Inequality and Trust in the View of People
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการ มีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมที่มี เพศ อายุ และอาชีพแตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง จำนวน 148 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากแบบทดแทนในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาล เมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็น รองลงมาคือ ด้านการวางแผนและการร่วมปฏิบัติ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประเมินผล 2) ประชาชนที่มี เพศ อายุ และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนวทางการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม คือ เทศบาลควรจัดประชุมเพื่อชี้แจงการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละปีให้คณะกรรมการชุมชนทราบ เทศบาลควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการชุมชนมี ส่วนร่วมในการรับรู้เรื่องงบประมาณให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และเทศบาลควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการชุมชนมีส่วนร่วมในการตรวจและประเมินผลการทำงานของเทศบาลให้มากขึ้น
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการ มีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมที่มี เพศ อายุ และอาชีพแตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง จำนวน 148 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากแบบทดแทนในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาล เมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้ข้อมูลและการรับฟังความคิดเห็น รองลงมาคือ ด้านการวางแผนและการร่วมปฏิบัติ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประเมินผล 2) ประชาชนที่มี เพศ อายุ และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนวทางการบริหารกิจการท้องถิ่นที่ดีด้านการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการชุมชนในเขตเทศบาลเมืองไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม คือ เทศบาลควรจัดประชุมเพื่อชี้แจงการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละปีให้คณะกรรมการชุมชนทราบ เทศบาลควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการชุมชนมี ส่วนร่วมในการรับรู้เรื่องงบประมาณให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และเทศบาลควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการชุมชนมีส่วนร่วมในการตรวจและประเมินผลการทำงานของเทศบาลให้มากขึ้น
This thematic paper had the following objectives: 1) to study good management in local affairs in participation of community committee in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province; 2) to study and compare good management in local affairs in participation of community committee in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province,classified with different gender, age and occupation; and 3) to suggest good management in local affairs guidelines for community participation in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province.The research instruments were questionnaires. The sample group consisted of 148 community committees in Raikhing Municipality. Samples were randomly selected using Probability Sampling and replacement label for data collection.The usedstatistics were basic statistics such as frequency, percentage, mean ( ), standard deviation (S.D.) and inference statistics or reference, includingT-test, one-way variance test, F-test (One-Way ANOVA). If a significant differencewas found, test with the difference of the average value in pairs was used by the Scheffé method, and by using data analysis and computer processing. The results of the research were found as follows: 1) The good management in local affairs in participation of community committee in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province, in summary of all three aspects was at a high level. When considering each aspect by sorting the average from descending to the highest, the average value was the aspect of Information and the aspect of hearing opinions, followed by the aspect of planning and co-operation, and the least average aspect was the aspect of evaluation. 2) People with different gender, age and occupation had opinions on good management in local affairs in participation of community committee in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province, with over all no difference. 3) Suggestions for good management in local affairs in participation of community committee in Raikhing Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province, were as follows : the municipality should hold a meeting to clarify the budget spending each year to the community committee; the municipality should allow the community committee to participate in the recognition of the budget more clearly ; and the municipality should allow the community committee to participate in the examination and evaluation of the work of the municipality more.
หนังสือ