Search results

33,640 results in 0.12s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตทั่วไป 2) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตทั่วไป พบว่า เป็นการใช้ชีวิตตามแนวทางพุทธจริยศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ทางจริยธรรม ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงวางไว้เพื่อเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ ตั้งแต่พื้นฐานเบื้องต้น ท่ามกลางและระดับสูง เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอันดีงามตามอุดมคติเท่าที่มนุษย์จะขึ้นได้ถึงได้ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีสติปัญญา มีความสุขอันสมบูรณ์ที่สุด การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เมื่อดำเนินชีวิตตามหลักเบญจธรรมจะทำให้มีความเมตตากรุณาความปรารถนาดีต่อผู้อื่น เลี้ยงชีพในทางที่สุจริต รู้จักควบคุมตนเองไม่หลงใหลในกามคุณ 5 มีความซื่อตรง และรู้สึกตัวเสมอว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ และจะส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีความสุขสงบในการดำเนินชีวิต วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เบญจธรรม หรือกัลยาณธรรม 5 เป็นธรรมของคนดี หมายถึง ธรรมของคนดี 5 ประการ ทั้งศีล 5 และกัลยาณธรรม 5 ประการนี้ เป็นของคู่กัน จึงเรียกว่า ศีลธรรม กล่าวคือ ศีล เป็นข้อห้าม คือ ห้ามทำ ห้ามล่วงละเมิด ส่วนกัลยาณธรรม เป็นข้ออนุญาตให้ทำ ให้นำไปประพฤติปฏิบัติแล้วจะเกิดผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ ทุกคน ได้แก่ ศีล 5 หรือเบญจศีลสำหรับทุกคน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตทั่วไป 2) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตทั่วไป พบว่า เป็นการใช้ชีวิตตามแนวทางพุทธจริยศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ทางจริยธรรม ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงวางไว้เพื่อเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ ตั้งแต่พื้นฐานเบื้องต้น ท่ามกลางและระดับสูง เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอันดีงามตามอุดมคติเท่าที่มนุษย์จะขึ้นได้ถึงได้ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีสติปัญญา มีความสุขอันสมบูรณ์ที่สุด การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เมื่อดำเนินชีวิตตามหลักเบญจธรรมจะทำให้มีความเมตตากรุณาความปรารถนาดีต่อผู้อื่น เลี้ยงชีพในทางที่สุจริต รู้จักควบคุมตนเองไม่หลงใหลในกามคุณ 5 มีความซื่อตรง และรู้สึกตัวเสมอว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ และจะส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีความสุขสงบในการดำเนินชีวิต วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เบญจธรรม หรือกัลยาณธรรม 5 เป็นธรรมของคนดี หมายถึง ธรรมของคนดี 5 ประการ ทั้งศีล 5 และกัลยาณธรรม 5 ประการนี้ เป็นของคู่กัน จึงเรียกว่า ศีลธรรม กล่าวคือ ศีล เป็นข้อห้าม คือ ห้ามทำ ห้ามล่วงละเมิด ส่วนกัลยาณธรรม เป็นข้ออนุญาตให้ทำ ให้นำไปประพฤติปฏิบัติแล้วจะเกิดผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ ทุกคน ได้แก่ ศีล 5 หรือเบญจศีลสำหรับทุกคน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a way of leading one’s life in general, 2) to examine the way of leading one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Results of the research have found the following findings. Leading one’s life in general has passing their lifestyle following guidelines on criteria of Buddhist morality. These criteria were founded by the Buddha to set standards of human behaviours in the order of the onset, middle to the advanced level, in order to let human beings lead their decent lives according to their ideals as far as human being can reach and access, to have them become a complete human being, with excellent wisdom and the complete bliss. Leading the way of one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy has found that leading one’s life as such let them have loving kindness and mercy towards others, earning their honest living, being well aware of controlling themselves, not indulging in five sexual pleasures, having honesty, and perceiving what should be done and what ought not. As such, they will result in making actors happy and peaceful to leading their own lives. Results of analyzing leading the of one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy has proven that five ennobling virtues are attributes of decent followers. Both five ennobling virtues and five precepts are dual-related. As a consequence, both are literally called ‘precepts (sila) and teachings (dharma)’. Buddhist precepts are commands; do not act, do not abuse, whereas teachings are suggestions; should act, ought to be introduced to practise. Certainly, both commands and suggestions yield good results to everyone.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • จากไพร่สู่พลเมือง
  • ไพร่ : อดีตแห่งสามัญชน
  • ราษฎรในรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์
  • โจร ผีบุญ กบฎ และคนบ้า
  • พลเมืองดีแห่งรัฐชาติ
  • นายเมืองเป็นนายเถื่อนพลเมืองดีฉบับนอกกรอบ
  • ทุนนิยม/ผู้บริโภค/ประชาสังคม และพลเมืองผู้ตื่นรู้
  • การเมืองภาคประชาชน : ไม่มีอัศวินม้าขาว
  • วิกฤตในชีวิตประจำวัน
  • ป่าชุมชนน่าน ขบวนการสังคมล้อมรัฐ
  • ปิดถนนปลุมชุมชน ฟื้นชีวิตเมือง
  • การพลิกสถานการณ์ : เศรษฐกิจภาคประชาชน
  • จากท่อก๊าซถึงรัฐธรรมนูญฉบับ สสร. : ว่าด้วยปัจจัยเอื้ออำนวยบขวบการประชาสังคม
  • เครือข่าย : พลังของชีวิตรวมหมู่
  • บทเส้นทางสู่อนาคต "พลเมือง" ความหมายใหม่ของประชาชน
  • คุณธรรมพลเมือง : จิตสาธารณะ
  • กำหนดพลเมือง : เริ่มต้นที่ครอบครัว
  • มิติศาสนาในขบวนการประชาชน
  • การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
  • สื่อมวลชน : การนำพลเมืองสู่สาธารณะ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551