Search results

33,640 results in 0.12s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีเพศ อายุ และรายได้ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้เช่าที่ราชพัสดุของสำนักงาน ธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ จำนวน 384 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 28 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .70 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test โดยใช้คอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า : 1) ความคิดเห็นของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งสี่ด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย คือ ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือการให้บริการ ด้านสถานที่ให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านขั้นตอนการให้บริการ ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมติฐาน พบว่า ผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีเพศ อายุ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ โดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 3) ผู้เช่าที่ราชพัสดุได้เสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ ลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรจัดทำคู่มือและเอกสารเผยแพร่ความรู้เรื่องการเช่าที่ราชพัสดุ เอกสารแนะนำการให้บริการมีน้อยควรเพิ่มเติมให้สมบูรณ์และเพียงพอ และควรมีป้ายแสดงแผนที่ที่ตั้งอาคารในการเข้ามาติดต่อ
สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีเพศ อายุ และรายได้ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้เช่าที่ราชพัสดุของสำนักงาน ธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ จำนวน 384 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 28 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .70 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test โดยใช้คอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า : 1) ความคิดเห็นของผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งสี่ด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย คือ ด้านอุปกรณ์และเครื่องมือการให้บริการ ด้านสถานที่ให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านขั้นตอนการให้บริการ ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมติฐาน พบว่า ผู้เช่าที่ราชพัสดุที่มีเพศ อายุ และรายได้ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ โดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ และ 3) ผู้เช่าที่ราชพัสดุได้เสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการของสำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ ลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรจัดทำคู่มือและเอกสารเผยแพร่ความรู้เรื่องการเช่าที่ราชพัสดุ เอกสารแนะนำการให้บริการมีน้อยควรเพิ่มเติมให้สมบูรณ์และเพียงพอ และควรมีป้ายแสดงแผนที่ที่ตั้งอาคารในการเข้ามาติดต่อ
The objectives of the research were 1) to study the opinions of the treasury land tenants about the service rendered by the Treasury Office in Kalasin Province, 2) to compare the opinions of the treasury land tenants in the said area, classified by gender, age and income, and 3) to survey the suggestions and recommendations proposed by the respondents. The samples were the tenants as mentioned, totally 384 in number. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire with reliability at the rate of 0.70, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and f-test (One way ANOVA). The research results were as follows: 1) The opinions of the treasury land tenants about the service rendered by the Treasury Office in Kalasin Province were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MOST’ level. The aspect that stood on top of the level was the service instrument, followed by service counter, persons in charge and service steps, respectively. 2) The comparison of the respondents’ related opinions, classified by gender, age and income, was found to show the statistically significant difference at the rate of .05, to meet with the synthesis set. 3) The suggestions proposed by the respondents were the following: (1) The brochure/documents dealing with the renting of the treasury lands should published and distributed. (2) The documents available at present were less in number, and their number should be increased to meet with the demands. (3) The information posters, where the location maps were shown, should be prepared to facilitate the contacts.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ตัวแปร ประเภทตัวแปร มาตรวัดตัวแปร และวิธีลดระดับมาตรวัดตัวแปร
  • สมมติฐาน นัยสำคัญ ขนาดอิทธิพล อำนาจการทดสอบ และการวิเคราะห์อำนาจ
  • ประชากร ตัวอย่าง และตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร
  • ทฤษฎีแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง การออกแบบการสุ่มและหลักการสุ่มตัวอย่าง
  • การตรวจสอบข้อตกลงของสถิติพาราเมตริกและสถิติขั้นสูง
  • การคำนวณขนาดตัวอย่างจากตารางขนาดตัวอย่าง
  • การคำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Powe : สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์และสถิติวิเคราะห์ถดถอย
  • การคำนวณขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Power : สถิติวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทย, 2) เพื่อศึกษาพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เกี่ยวกับการศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จ, 3) เพื่อวิเคราะห์การศึกษาภาษาบาลีให้ประสบความสำเร็จตามแนวพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นวิจัยเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนรวม 7 รูป/คน และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยในปัจจุบันนี้ เป็นการศึกษาเพื่อรักษาและสืบทอด คำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นการศึกษาพิเศษที่สำนักเรียนแต่ละสำนักสามารถจัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แต่พอถึงเวลาสอบวัดผลก็สามารถเข้าสอบได้พร้อมกันทั้งหมด ผู้สอบผ่านจะได้เข้ารับการตั้งเปรียญธรรมตามที่กำหนดไว้ และใบประกาศนียบัตรเทียบเท่าระบบสามัญศึกษาและอุดมศึกษาตามแต่ละชั้นได้ สามารถนำไปต่อยอดการศึกษาสาขาวิชาอื่น ๆ ได้ด้วย แนวพระดำริที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงวางไว้ในการศึกษาภาษาบาลี คือ 1. ใช้เวลาเรียนน้อย 2. ได้ความรู้มาก 3. นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซึ่งพระองค์ก็ทรงจัดวิธีการศึกษาแบบใหม่ โดยมีการจัดชั้นเรียนที่ชัดเจน ระบุวันสอบและสถานที่สอบที่ชัดเจน และมีการกำหนดคะแนนสอบได้ สอบตก เปลี่ยนจากการแปลด้วยปากเปล่ามาเป็นวิธีเขียน ทำให้ผู้เข้าสอบมีความสะดวกสบายและง่ายขึ้น การศึกษาภาษาบาลีนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า ฯ ทรงประสงค์ให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาตามลำดับหลักสูตร มีการเข้าชั้นเรียน กำหนดเวลาเรียนให้เกิดความชัดเจน แล้วทำการวัดผลสอบในชั้นเรียน เพื่อเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถพระภิกษุสามเณรก่อนเข้าสอบบาลีสนามหลวงจริง ซึ่งผู้ศึกษาจะได้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษาและสามารถนำเอาผลของการศึกษาไปใช้ในทางปฏิบัติ จนทำให้มีผู้สำเร็จการศึกษามากยิ่งขึ้น พระองค์ทรงปรีชาสามารถในการจัดการศึกษา นับว่าเป็นพระอัจฉริยภาพอย่างยิ่งของพระองค์ท่านโดยแท้
The objectives of this thesis were as follows: 1. to study the Pali language study in Thailand, 2. to study the view of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali language study, and 3. to analyze the success in study of Pali according to the view of Somdet Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros. The data of this qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 7 experts and then analyzed in a descriptive way. The results of research were found that: The Pali language study in Thailand today is to preserve and transfer the Buddhist teachings. It is also a special education system that each school can operate its study but they have to send their students to take the examination-pool once a year. Those who passed in the examination will be certified as ones versed in Pali or Pariandham. The certificate of Pali study in a specific level is equivalent to the level in general and higher education system. The certificate can be used to apply for further study in other disciplines as well. The views of Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros in the Pali study were as follows; 1. It takes a little time to learn, 2. The learners gain a lot of knowledge, 3. It can be used for real benefit. In his time, a new educational system was set up; class arrangement, examination schedule and examination criteria were clearly specified; and the oral examination was changed to written examination. In the Pali language study, Somdej Phramahasamanachao Kromphrayavajirayanavaroros wished students study according to the course order, regularly attend class, and do the classroom quizzes to assess their knowledge and understanding in Pali before attending the examination. By this way, students of Pali study can understand the Pali language and can apply their knowledge in work and practice. All these improvements confirmed and showed capability and genius of His Highness in educational management.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
This thesis has the following objectives: 1) to study the community participation in the local development plan in Sam Phran District 2) to compare the participation of local people in the development of local development plans in Sampran district Nakhon Pathom province of the community that has different gender, age, education level, status and monthly income. 3) To suggest the participation of the community in formulating the local development plan in Sampran district. Nakhon Pathom province, namely Parachakham in Sam Phran district Nakhon Pathom Province, amount 5,656 people. Determine the size of the samples using the formula of Taro. Yamane received a sample of 385 people. The tools used to collect data were questionnaires. Closed-end and open-ended type Data analysis was done by using a computer program. Statistics for data analysis LSD, frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA or F-test and the Least Significant Difference LSD. The findings were as follows; 1) The community participates in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province, in all 5 areas, at the highest level When looking at each aspect, sorted in descending average order, it was found that the participation of There was the highest average, followed by participation in monitoring and evaluation. As for participation, receiving benefits Have the lowest mean respectively When classified by sex, age, educational level, occupation status and monthly income, overall was the highest. 2) The results of comparison of participation in the development plan of the local government organization. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province of the community with different sex, age, education level, occupation status and monthly income were found to be statistically significant difference at 0.05 level. 3) Suggestions on guidelines for promoting community participation in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province The results were found in descending order of frequency. How often are you involved with the local government organization in proposing problems, plans or projects in the area of utility development such as roads and electricity, etc. Make decisions and formulate development solutions to address local problems.