Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของรตนสูตร
  • วิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตรด้านหลักภาษา
  • วิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตรด้านพจนานุกรม
  • วิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตรด้านฉันทลักษณ์
  • วิเคราะห์บทบาลีในรตนสูตรอลังการ
  • พระรัตนตรัยที่พึ่งอันเป็นหลักชัยในการดำรงชีวิต
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยจำแนกตาม เพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และวุฒิการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ด้านการวัดผลประเมินผล ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการนิเทศ 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และวุฒิการศึกษาโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ การพัฒนาหลักสูตรควรจัดเนื้อหาและประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชุมชนและความต้องการของชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีระบบนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ ประเมินผลและสรุปผลแผนงาน โครงการกิจกรรมต่างๆ เพื่อนำสิ่งที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการจัดการศึกษาต่อไป
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยจำแนกตาม เพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และวุฒิการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ด้านการวัดผลประเมินผล ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการนิเทศ 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน และวุฒิการศึกษาโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนในกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ การพัฒนาหลักสูตรควรจัดเนื้อหาและประสบการณ์ให้สอดคล้องกับชุมชนและความต้องการของชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีระบบนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนอย่างสม่ำเสมอ ประเมินผลและสรุปผลแผนงาน โครงการกิจกรรมต่างๆ เพื่อนำสิ่งที่เป็นประโยชน์มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการจัดการศึกษาต่อไป
The objectives of the research were 1) to study the situation of the academic affairs administration based on the threefold training to develop learners in private school promotion groups under kalasin provincial education office 2) to compare the academic affairs administration based on the threefold training to develop learners in private school promotion groups under kalasin provincial education office, classified by gender, job experience and education, and 3) to collect the related recommendations as suggested by the returned responses. The samples were 327 staff members of the schools as mentioned and the device used for data collection was the 5-rating scale questionnaire with content validity as high as 0.67 – 1.00, and reliability at .93. The research results were as follows: 1) The situation of the academic affairs administration based on the threefold training to develop learners in private school promotion groups under kalasin provincial education office, was, in both overall and individual aspects, found to stand at the ‘MUCH’ level. The aspect that stand at the top of the scale in terms of mean was curriculum and curricular development, followed by evaluation and assessment, class management and supervision, respectively. 2) The comparison of the academic affairs administration based on the threefold training to develop learners in private school promotion groups under kalasin provincial education office, classified by gender, job experience and education, was, in both overall and individual aspects, found to display no statistically significant difference. 3) The recommendations suggested by the returned responses are as follows: (1) The contents of curriculum should be designed to meet with the community needs. (2) Extracurricular activities should be drawn up as student-centered programs. (3) Regular supervision and follow-up should be implemented. (4) All plans and projects require evaluation and assessment in order that the weakness might be revised and the strengths might be promoted for the sake of the most effective management of education.
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • อักขรวิธี
  • สนธิ
  • นาม อชันตะ
  • นาม หลันตะ
  • สรรพนาม และคุณนาม
  • สังขยา และอัพยยศัพท์
  • กริยาอาขยาต
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ