Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

หนังสือ

    ส่งคืนแก้ไข
Note: ส่งคืนแก้ไข
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • กรณีศึกษาการจัดการน้ำ
  • กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรประมง/ชายฝั่ง: พื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออก
  • กรณีศึกษาการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและทะเลด้านการท่องเที่ยว
  • กรณีศึกษาปัญหาป่าไม้และที่ดิน: จังหวัดลำพูน
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • แนวคิดการปฏิรูปการเมือง
  • พฤติกรรม : บุคลิกภาพและวัฒนธรรมการเมือง
  • บุคลิกภาพกับการเมือง
  • วัฒนธรรมการเมือง
  • วัฒนธรรมการเมืองของสังคมไทย
  • การศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพและวัฒนธรรมทางการเมือง
  • การปฏิรูปการศึกษาและการสร้างความเป็นพลเมือง
  • ปัจฉิมพจน์ : วัฒนธรรมนั้นสำคัญไฉน?
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ความเป็นมาของการแพทย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ไทย
  • อิทธิพลการแพทย์แผนตะวันตกสมัยล่าอาณานิคมกับความหายนะของการแพทย์แผนไทย
  • ปรัชญาและผู้มีคุณูปการด้านการแพทย์แผนไทย
  • ยา ตำรายา และหมอแผนไทย
  • ตำรา ผู้นิพนธ์ และผู้มีคุณูปการต่อการแพทย์แผนไทย
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาความขัดแย้งภายในครอบครัว, ๒) เพื่อศึกษาหลักสังควัตถุตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์หลักสังคหวัตถุเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า สังคมมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นโดยที่สังคมไทยแบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วน คือสังคมชนบทและสังคมเมือง แต่มีลักษณะที่สำคัญเหมือนกัน เช่น มีการรวมกลุ่มของคนในสังคมมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมหรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางให้ยึดถือร่วมกัน และ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ เป็นต้น ดังนั้น เอกลักษณ์ของสังคม ไทยมีลักษณะโดดเด่น กล่าวคือ สังคมไทยรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง เป็นสังคมเจ้านายสังคมไทย และเป็นสังคมเกษตรกรรม เป็นต้น สังคหวัตถุหรือสังคหวัตถุธรรมถือว่าเป็นหลักธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นธรรมที่สามารถเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน ยิ่งการใช้ชีวิตอยู่รวมกันในสังคมหมู่มากแล้ว จะต้องยึดถือหลักธรรมะประจำใจ ไว้คอยประพฤติปฏิบัติ เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความปลอดภัย และมีความสุข ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ ๔ คือ คุณธรรม ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) ทาน คือ การรู้จักแบ่งปันสิ่งของ ๒) ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยวาจาสุภาพอ่อนโยน ๓) อัตถจริยา คือ ความประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔) สมานัตตตา คือ ความปะพฤติปฏิบัติดีต่อผู้อื่นอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ผลจากการวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทแยกออกเป็นประเด็น ปัญหาต่างๆ โดย เริ่มที่ตัวสมาชิกทุกคน ซึ่งประกอบไปด้วย บิดา มารดา และบุตรธิดาด้วยหลักพระพุทธธรรมต่างๆ เช่น แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการประพฤติปฏิบัติตามบทบาทและหน้าที่ของตน สามีก็ทำหน้าทีของสามี ภรรยาก็ทำหน้าที่ของภรรยา บุตรธิดาก็ทำหน้าที่ของบุตรธิดาให้สมบูรณ์นั่นเอง ส่วนปัญหาอื่น ก็สามารถแก้ได้ด้วยการประพฤติธรรมหมวดนั้นๆ เช่น ปัญหาการนอกใจนำไปสู่การหย่าร้างแก้ด้วยหลักอินทรีย์สังวร การสำรวมกาย วาจา ใจ หลักฆราวาส มีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีการข่มใจมิให้หลงมัวเมา และเว้นขาดจากอบายมุข ๖ อันจะนำครอบครัวไปสู่ความล่มสลาย เป็นต้น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาความขัดแย้งภายในครอบครัว, ๒) เพื่อศึกษาหลักสังควัตถุตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์หลักสังคหวัตถุเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า สังคมมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นโดยที่สังคมไทยแบ่งออกได้เป็น ๒ ส่วน คือสังคมชนบทและสังคมเมือง แต่มีลักษณะที่สำคัญเหมือนกัน เช่น มีการรวมกลุ่มของคนในสังคมมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมหรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางให้ยึดถือร่วมกัน และ มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ เป็นต้น ดังนั้น เอกลักษณ์ของสังคม ไทยมีลักษณะโดดเด่น กล่าวคือ สังคมไทยรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง เป็นสังคมเจ้านายสังคมไทย และเป็นสังคมเกษตรกรรม เป็นต้น สังคหวัตถุหรือสังคหวัตถุธรรมถือว่าเป็นหลักธรรมที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นธรรมที่สามารถเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน ยิ่งการใช้ชีวิตอยู่รวมกันในสังคมหมู่มากแล้ว จะต้องยึดถือหลักธรรมะประจำใจ ไว้คอยประพฤติปฏิบัติ เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความปลอดภัย และมีความสุข ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ ๔ คือ คุณธรรม ๔ อย่าง ได้แก่ ๑) ทาน คือ การรู้จักแบ่งปันสิ่งของ ๒) ปิยวาจา คือ การเจรจาด้วยวาจาสุภาพอ่อนโยน ๓) อัตถจริยา คือ ความประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔) สมานัตตตา คือ ความปะพฤติปฏิบัติดีต่อผู้อื่นอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ผลจากการวิเคราะห์การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทแยกออกเป็นประเด็น ปัญหาต่างๆ โดย เริ่มที่ตัวสมาชิกทุกคน ซึ่งประกอบไปด้วย บิดา มารดา และบุตรธิดาด้วยหลักพระพุทธธรรมต่างๆ เช่น แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยการประพฤติปฏิบัติตามบทบาทและหน้าที่ของตน สามีก็ทำหน้าทีของสามี ภรรยาก็ทำหน้าที่ของภรรยา บุตรธิดาก็ทำหน้าที่ของบุตรธิดาให้สมบูรณ์นั่นเอง ส่วนปัญหาอื่น ก็สามารถแก้ได้ด้วยการประพฤติธรรมหมวดนั้นๆ เช่น ปัญหาการนอกใจนำไปสู่การหย่าร้างแก้ด้วยหลักอินทรีย์สังวร การสำรวมกาย วาจา ใจ หลักฆราวาส มีความซื่อสัตย์ต่อกัน มีการข่มใจมิให้หลงมัวเมา และเว้นขาดจากอบายมุข ๖ อันจะนำครอบครัวไปสู่ความล่มสลาย เป็นต้น
This thesis serves the purposes: 1) to study Household life conflict, 2) to study on rule of good household life, and 3) to analyze the rule of good household life to solve household life conflict following Theravada Buddhist Philosophy. Using the document research method Is studying the Buddhist scriptures. Relevant research and other textbooks. The results of the research were found that: Thai society has changed forever. Both unconventional and conventional changes lead to both good and bad. The Thai society is divided into two parts, rural and urban. It has the same characteristics, such as the integration of people in society, the way to conduct the right or the rules, the rules, the way to hold together and change the movement, etc. So the identity of the society. Thailand has a distinctive feature: Thai society is centralized in the central. Thai society boss and a farming society. Sacred objects or sacred objects is considered a very important principle. It is considered fair to be able to bond with one another. Especially for use in daily life, the more living together in society, the more mass. I must adhere to the principles of morality. To behave Objective 4 is four virtues: 1. To eat is to share. 2. To speak verbally is to speak in a gentle, gentle way. 3. Attitude is behavior that is beneficial to others. 4. Smaratta is a good practice for others to persist. The results of the analysis of conflict resolution in the family of Theravada Buddhist philosophy is divided into issues, starting with all members. It consists of parents and children with various Buddhist principles. For example, resolve conflicts by behaving according to their roles and duties. The husband made her husband's face. Wife also serves his wife and the child is the daughter of the daughter. Other problems It can be solved by doing the wrong class, such as infidelity issues, leading to divorce, organic solstice, articulation, body language, spiritual secularism, loyalty to each other. There is no temptation to be obsessed. And abstain from the six swarms that will lead the family to collapse, etc.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 ภาพรวมของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
  • ส่วนที่ 2 รายงานการเงิน
  • 2.1 งบแสดงฐานะการเงิน
  • 2.2 การวิเคราะห์ทางการเงิน
  • 2.3 ต้นทุนผลผลิตและต้นทุนกิจกรรม
  • ส่วนที่ 3 สรุปผลการปฏิบัติงาน
  • 3.1 ผลการปฏิบัติงานตามนโยบายเร่งด่วน
  • 3.2 ผลการปฏิบัติงานตามโยบายบริหารการพัฒนา
  • 3.4 ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสครีและครอบครัว
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552