Search results

33,640 results in 0.11s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(กศ.ม)--มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2553
ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(กศ.ม)--มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 พบว่า เป็นแนวทางในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นทางสายเอกที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนแก่หมู่ภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย เพื่อเป็นแนวทางในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นฐานที่ตั้งของสติ ในการระลึกถึงหนทางในการฝึกฝน ปฏิบัติเพื่อกำจัดอุปัทวะกิเลสให้สิ้นไป คือ การตั้งสติพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นหนทางแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลาย ผลของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทำให้มีอานิสงส์ มีพลังในการเจริญสมาธิทำให้เกิดความสุขระดับโลกียสุข และระดับโลกุตตรธรรมจนถึงพระนิพพาน 2) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า รูปแบบการสอนกรรมฐานของท่านนั้นได้ปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยยึดหลักตามพระไตรปิฎก คือ โพธิปักขิยธรรม ให้ผู้ปฏิบัติกำหนดอารมณ์ให้เป็นปัจจุบันเป็นไปตามแนวทางสติปัฏฐาน 4 คือ ให้กำหนด กาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งท่านมีหลักที่ใช้ในการปฏิบัติกรรมฐานอยู่ 2 ประการ คือ สติกับสัมปชัญญะ คอยควบคุมหรือกำหนดจิต ให้จิตรู้หน้าที่การงานโดยถูกต้อง แล้วเหลืออยู่หนึ่งเดียว คือความไม่ประมาท เมื่อจิตไม่ประมาทแล้วย่อมดำเนินวิถีชีวิตด้วยความถูกต้อง ในการปฏิบัติกรรมฐานท่านให้ผู้เข้าปฏิบัติได้เพ่งพิจารณาไปที่ท้องแล้วกล่าวตามการหายใจเข้า ออก คือ ยุบหนอ พองหนอ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของสำนักวัดอัมพวัน ในขณะที่สอนกรรมฐานท่านจะบรรยายธรรมเกี่ยวกับเรื่อง กฎแห่งกรรม รวมทั้งอานิสงส์ของการสวดมนต์บทพาหุงมหากา ซึ่งเป็นเครื่องเจริญสติอย่างหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมสวดกันอย่างแพร่หลาย 3) วิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า มีคุณค่าด้านการเผยแผ่หลักธรรมและคำสอน คุณค่าด้านบุคลิกลักษณะ และคุณค่าด้านการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี นับได้ว่าคุณค่าทุกด้านของท่านมีคุณค่าอย่างยิ่ง ท่านจึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและมีผู้ศรัทธาเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั่วทุกประเทศ ในการปฏิบัติกรรมฐานนั้นมีคุณค่าและประโยชน์มากมายเท่าที่รู้จากประสบการณ์ของหลวงพ่อและจากการสอบอารมณ์ของผู้ที่มาปฏิบัติกรรมฐาน พอสรุปได้ 3 ประการ ดังนี้ 1) ระลึกชาติได้ 2) เห็นกฎแห่งกรรม และ 3) เกิดปัญญาในการแก้ปัญหาชีวิตได้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 พบว่า เป็นแนวทางในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นทางสายเอกที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนแก่หมู่ภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย เพื่อเป็นแนวทางในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นฐานที่ตั้งของสติ ในการระลึกถึงหนทางในการฝึกฝน ปฏิบัติเพื่อกำจัดอุปัทวะกิเลสให้สิ้นไป คือ การตั้งสติพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นหนทางแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลาย ผลของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทำให้มีอานิสงส์ มีพลังในการเจริญสมาธิทำให้เกิดความสุขระดับโลกียสุข และระดับโลกุตตรธรรมจนถึงพระนิพพาน 2) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า รูปแบบการสอนกรรมฐานของท่านนั้นได้ปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยยึดหลักตามพระไตรปิฎก คือ โพธิปักขิยธรรม ให้ผู้ปฏิบัติกำหนดอารมณ์ให้เป็นปัจจุบันเป็นไปตามแนวทางสติปัฏฐาน 4 คือ ให้กำหนด กาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งท่านมีหลักที่ใช้ในการปฏิบัติกรรมฐานอยู่ 2 ประการ คือ สติกับสัมปชัญญะ คอยควบคุมหรือกำหนดจิต ให้จิตรู้หน้าที่การงานโดยถูกต้อง แล้วเหลืออยู่หนึ่งเดียว คือความไม่ประมาท เมื่อจิตไม่ประมาทแล้วย่อมดำเนินวิถีชีวิตด้วยความถูกต้อง ในการปฏิบัติกรรมฐานท่านให้ผู้เข้าปฏิบัติได้เพ่งพิจารณาไปที่ท้องแล้วกล่าวตามการหายใจเข้า ออก คือ ยุบหนอ พองหนอ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของสำนักวัดอัมพวัน ในขณะที่สอนกรรมฐานท่านจะบรรยายธรรมเกี่ยวกับเรื่อง กฎแห่งกรรม รวมทั้งอานิสงส์ของการสวดมนต์บทพาหุงมหากา ซึ่งเป็นเครื่องเจริญสติอย่างหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมสวดกันอย่างแพร่หลาย 3) วิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า มีคุณค่าด้านการเผยแผ่หลักธรรมและคำสอน คุณค่าด้านบุคลิกลักษณะ และคุณค่าด้านการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี นับได้ว่าคุณค่าทุกด้านของท่านมีคุณค่าอย่างยิ่ง ท่านจึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและมีผู้ศรัทธาเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั่วทุกประเทศ ในการปฏิบัติกรรมฐานนั้นมีคุณค่าและประโยชน์มากมายเท่าที่รู้จากประสบการณ์ของหลวงพ่อและจากการสอบอารมณ์ของผู้ที่มาปฏิบัติกรรมฐาน พอสรุปได้ 3 ประการ ดังนี้ 1) ระลึกชาติได้ 2) เห็นกฎแห่งกรรม และ 3) เกิดปัญญาในการแก้ปัญหาชีวิตได้
The objectives of this thesis ware as follows 1) To study the Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4, 2) To study the Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo) and 3) To study values of Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo). The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1) Meditation Teaching in Satipatthana 4 Astring that Lord Buddha had taught the monks among them. To guide the Vipassana meditation. As a base of consciousness In recognition of the way in training. Aupatwa practices to eliminate damage to the guest is to calm the mind and body perception justified as a way of liberation from suffering and destruction. The effects of meditation practice, made a New Song. Meditation has the power to evoke joy at Longchamp. Lo and Gangut sq fair to Nirvana. 2) The Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo) was formed to teach meditation you have to follow the guidelines Satipatthana 4. The principle is based on the Holy scriptures phothipakkhithrrm. The operator sets the mood for a modern approach to the problem of consciousness is to set out the four mental health, compassion and fairness which are primarily used in the practice of meditation are two kinds: the smallness of consciousness. To control or define mental Know the job correctly. Then the remaining one Is a precaution When I would not underestimate the mental lifestyle with accuracy. While meditation teaches you to lectures about karma and merits of the arms of prayer epic. This is one of the Buddhist mindfulness widely popular hymns. 3) The values of Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo). : found valuable in disseminating the principles and doctrines. Values personality And values to behave as role models. It is considered particularly valuable has been widely popular with the practice of meditation all over the country. The practice of meditation is valuable and useful as you know from experience pastor and from the mood of the practice of meditation can be summarized three reasons :1) national memorial 2) the law of action and 3) the wisdom to solve life issues.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(พธ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(พธ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ