Search results

2 results in 0.06s

หนังสือ

หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 2) เพื่อศึกษาพุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 3) เพื่อบูรณาการการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เรื่อง “การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์” โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก และการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่เคยรับราชการตำรวจ จำนวน 6 คน นักวิชาการผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 6 รูป/คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลนำเสนอ ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ให้ตำรวจมีการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น มีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด มีจริยธรรมตำรวจ และวิธีการเสริมสร้างจริยธรรมตำรวจ ให้มีหลักในการครองตน ด้วยการดำเนินชีวิตอย่างรอบคอบและไม่ประมาท การครองคน ให้ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข การครองงาน ด้วยการปฏิบัติหน้าที่ได้สมบูรณ์และบรรลุเป้าหมาย 2. พุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ได้แก่ หลักเบญจศีล-เบญจธรรม สิ่งที่ควรเว้นและธรรมที่ควรปฏิบัติ หลักสังคหวัตถุ 4 ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน หลักอิทธิบาท 4 คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ 3. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ พบว่า การดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลใช้หลักเบญจศีล-เบญจธรรมในการครองตน ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการครองคน ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการครองงาน โดยบูรณาการกันในการส่งเสริมด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ทั้ง 3 ประการมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “SPJ MODEL” S มาจาก Good Self ครองตนดี ตำรวจสันติบาลจะครองตนที่ดีจะต้องยึดมั่น ทำให้มีความสุขกายสุขใจ P มาจาก S Good People หมายถึง ครองคนดี ตำรวจสันติบาล มีธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หลักการครองใจคน และ J มาจาก Good Job หมายถึง ครองงานดี ตำรวจสันติบาลต้องมีความอดทน ความเพียรพยายาม ความจริงใจต่อประชาชน
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 2) เพื่อศึกษาพุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล 3) เพื่อบูรณาการการส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เรื่อง “การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์” โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก และการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่เคยรับราชการตำรวจ จำนวน 6 คน นักวิชาการผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 6 รูป/คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 12 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลนำเสนอ ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ให้ตำรวจมีการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น มีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด มีจริยธรรมตำรวจ และวิธีการเสริมสร้างจริยธรรมตำรวจ ให้มีหลักในการครองตน ด้วยการดำเนินชีวิตอย่างรอบคอบและไม่ประมาท การครองคน ให้ดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข การครองงาน ด้วยการปฏิบัติหน้าที่ได้สมบูรณ์และบรรลุเป้าหมาย 2. พุทธจริยศาสตร์ในการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาล ได้แก่ หลักเบญจศีล-เบญจธรรม สิ่งที่ควรเว้นและธรรมที่ควรปฏิบัติ หลักสังคหวัตถุ 4 ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน หลักอิทธิบาท 4 คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ 3. การส่งเสริมการดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ พบว่า การดำเนินชีวิตของตำรวจสันติบาลใช้หลักเบญจศีล-เบญจธรรมในการครองตน ใช้หลักสังคหวัตถุ 4 ในการครองคน ใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการครองงาน โดยบูรณาการกันในการส่งเสริมด้วยหลักพุทธจริยศาสตร์ทั้ง 3 ประการมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “SPJ MODEL” S มาจาก Good Self ครองตนดี ตำรวจสันติบาลจะครองตนที่ดีจะต้องยึดมั่น ทำให้มีความสุขกายสุขใจ P มาจาก S Good People หมายถึง ครองคนดี ตำรวจสันติบาล มีธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หลักการครองใจคน และ J มาจาก Good Job หมายถึง ครองงานดี ตำรวจสันติบาลต้องมีความอดทน ความเพียรพยายาม ความจริงใจต่อประชาชน
This thesis objectives 1) to study the promotion of life of the special branches 2)to study the Buddhist ethics in the life of the special branch 3)to integrate the promotion of life of the Special Branches using the Buddhist ethics 4) to present new knowledge on “Promoting the life of the special branch with Buddhist ethics” by studying and analyzing the data from the Tripitaka textbooks and related documents are mainly and in-depth interviews A group of experts who had served in the police service consisted of 6 persons, academics with knowledge and expertise in Buddhism, 6 figures/person, totaling 12 persons. The results of the research showed that: 1. Promoting the life of the special branch give the police a better life strict discipline police ethics and how to strengthen police ethics as a tool to guide the performance of duties. To become a peacekeeper or being a policeman of the people. 2. Buddhist ethics in the life of special branch police Benjasila - Benjadhamma Things that should be avoided and Dharma that should be done The principle of Sangahavatthus, Four Foundations for Accomplishment consist of 3. Promoting the life of the special branch police with buddhist ethics found that Buddhist ethics for self-reliance Integration with the Benjasila-Benjadhamma principles Buddhist Ethics for Dominating People Integrating with using the 4 Sangkhahavatthus principles, Buddhist ethics for dominating work Integration with using the principle of IDDHIPᾹDA 4. The new body of knowledge that has been called "SPJ MODEL" S comes from Good Self. Maintaining a good self, the special branch police must adhere to. Makes people happy and happy. P stands for S Good People, which means occupy good people. There is a Dharma that is the location of mutual assistance, the Dharma that binds kindness. The principle of reigning in people's hearts and J from Good Job means occupying a good job. The Special Branch Police must be patient. perseverance sincerity to the people