Search results

6 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการส่งเสริมประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ ตำราวิชาการ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. ประวัติและความเป็นมาของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดขึ้นทุกปี ในคืนก่อนวันวิสาขบูชา ที่ถูกปฏิบัติสืบทอดสืบต่อกันมานับตั้งแต่สมัยพระยากือนา กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์มังรายได้เกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้นิมนต์พระสงฆ์จากสุโขทัยมาเผยแพร่พุทธศาสนาในเชียงใหม่และได้เสี่ยงทายการสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้นจนได้ดอยสุเทพเป็นที่บรรจุพระธาตุเจดีย์นับจากนั้นมาจึงเกิดประเพณีสรงน้ำพระธาตุดอยสุเทพขึ้นพร้อมกับการเดินขึ้นดอย ดังนั้น พระธาตุดอยสุเทพ จึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวล้านนา มีวัตถุประสงค์ที่เกื้อหนุนต่อศาสนา สังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต 2. คุณค่าของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ทำให้ประชาชนและพระสงฆ์เกิดความสามัคคี คุณค่าด้านศาสนสถาน ช่วยส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์สืบสานคุณค่าของพระพระพุทธศาสนา ระลึกและตระหนักถึงบุญกุศลของบรรพบุรุษ คุณค่าด้านศาสนพิธี ช่วยให้จิตใจของผู้เข้าร่วมมีพลัง มีความสงบ และมีพิธีอันเชิญน้ำสรงพระราชทาน ทำให้เกิดคุณค่าแก่การสืบสานภูมิปัญญาของล้านนา 3. แนวทางการส่งเสริมประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าควรมีการปลูกฝังให้คนเดินขึ้นดอยได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของดอยสุเทพ ควรมีการรณรงค์การแต่งกายแบบพื้นถิ่น ควรมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อกิจกรรม ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ถึงความสำคัญของดอยสุเทพ พัฒนารูปแบบของประเพณีให้เข้ากับยุคสมัย ควรมีการประกอบพิธีแต่พอดีพองาม ควรมีการเก็บรักษารูปแบบของการเดิน โรงทาน การรณรงค์ การรักษาสิ่งแวดล้อม
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการส่งเสริมประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ ตำราวิชาการ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. ประวัติและความเป็นมาของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดขึ้นทุกปี ในคืนก่อนวันวิสาขบูชา ที่ถูกปฏิบัติสืบทอดสืบต่อกันมานับตั้งแต่สมัยพระยากือนา กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์มังรายได้เกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงได้นิมนต์พระสงฆ์จากสุโขทัยมาเผยแพร่พุทธศาสนาในเชียงใหม่และได้เสี่ยงทายการสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้นจนได้ดอยสุเทพเป็นที่บรรจุพระธาตุเจดีย์นับจากนั้นมาจึงเกิดประเพณีสรงน้ำพระธาตุดอยสุเทพขึ้นพร้อมกับการเดินขึ้นดอย ดังนั้น พระธาตุดอยสุเทพ จึงมีความสำคัญในฐานะที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวล้านนา มีวัตถุประสงค์ที่เกื้อหนุนต่อศาสนา สังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต 2. คุณค่าของประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ทำให้ประชาชนและพระสงฆ์เกิดความสามัคคี คุณค่าด้านศาสนสถาน ช่วยส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์สืบสานคุณค่าของพระพระพุทธศาสนา ระลึกและตระหนักถึงบุญกุศลของบรรพบุรุษ คุณค่าด้านศาสนพิธี ช่วยให้จิตใจของผู้เข้าร่วมมีพลัง มีความสงบ และมีพิธีอันเชิญน้ำสรงพระราชทาน ทำให้เกิดคุณค่าแก่การสืบสานภูมิปัญญาของล้านนา 3. แนวทางการส่งเสริมประเพณีเดินขึ้นดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าควรมีการปลูกฝังให้คนเดินขึ้นดอยได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของดอยสุเทพ ควรมีการรณรงค์การแต่งกายแบบพื้นถิ่น ควรมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อกิจกรรม ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ถึงความสำคัญของดอยสุเทพ พัฒนารูปแบบของประเพณีให้เข้ากับยุคสมัย ควรมีการประกอบพิธีแต่พอดีพองาม ควรมีการเก็บรักษารูปแบบของการเดิน โรงทาน การรณรงค์ การรักษาสิ่งแวดล้อม
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study history and background of tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province, 2) to analyze value of tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province, and 3) to propose guidelines to promote tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province. This research was qualitative research focusing on documentary study and research information from books, academic texts, research reports, theses and dissertations. The tools used for data collection were in-depth interview and data were analyzed by descriptive method. The results of research were found that: 1. According to history and background of the tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province, (tradition of walking up to Doi Suthep) was held every year on the night before Vesak Day that had been carried on and on since the reign of Phra Ya Kue Na, the 6th King of Mangrai dynasty. The king became deeply devoted to Buddhism and invited monks from Sukhothai to spread Buddhism in Chiang Mai. He made a guess at construction of pagoda until he got Doi Suthep as place to contain Buddhas’s relics. Since then, there had been tradition of bathing Phra That Doi Suthep together with walking up the mountain. It was therefore important as the spiritual center of the Lanna people. Its objectives were to support religion, society, customs, traditions, culture and way of life. 2. Regarding value of tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province, (tradition of walking up to Doi Suthep) caused people and monks to have unity. Pertaining to value of religious place, it helped to promote conservation and continuity of value of Buddhism and to remember and recognize merits of ancestors. Pertaining to ceremonial value, it helped participants' mind to have energy, peace, as there was ceremony of receiving royal bathing water that caused value to continuation of Lanna's wisdom. 3. Guidelines for promoting tradition of walking up to Doi Suthep, Chiang Mai province was found that people walking up the mountain should be cultivated and educated in history of Doi Suthep. There should be a campaign to dress locally. And Budget should be allocated for activity. There should be promotion of public relation on the importance of Doi Suthep and development of form of tradition to match the era. There should be proper holding of ceremony and preservation of forms of walking and alms-house as well as campaigns of environmental protection.