Search results

413 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 3.
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 3.
เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของกำนันผู้ใหญ่บ้านในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบการวิจัยคุณภาพ (Quantitative Research) โดยเก็บข้อมูลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น กล่าวถึงวิธีการดำเนินการในการวิจัยครั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัยตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ ผู้วิจัยได้ทำการวางแผนเขียนกรอบในการวิจัย กล่าวคือ ศึกษาวิจัยก่อนแล้วจึงนำไปเปรียบเทียบกับทฤษฎีโดยเริ่มจากประเด็นที่ต้องการวิจัยแล้วนำไปสู่การทบทวนทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงมาออกแบบการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีประเด็นที่วิจัย 4 ด้าน คือ 1) ด้านเมตตา 2) ด้านกรุณา 3) ด้านมุทิตา 4) ด้านอุเบกขา จึงมีข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ดังต่อไปนี้ ด้านเมตตา เมตตาแห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความปรารถนาหรือความประสงค์อันเกิดขึ้นในจิตที่จะยังให้ผู้อื่นมีความสุข ภายใต้จิตอันบริสุทธิ์ อันจักนำไปสู่การเกิดความกรุณาต่อไป หมายถึง ความปราถนาให้ผู้อื่นได้รับความสุข ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ความสุขเกิดขึ้นได้ทั้งกายและใจ ความสุขของคฤหัสถ์ 4 อันได้แก่ ความสุขเกิดการมีทรัพย์ ความสุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ ความสุขเกิดจากการไม่เป็นหนี้ และความสุขเกิดจากการทำงานที่ปราศจากโทษ ด้านกรุณา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความปรารถนาที่จะช่วยหรือสงเคราะห์ให้ผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ บนพื้นฐานจิตใจอันบริสุทธิ์ จนนำไปสู่การใช้ปัญญาเพื่อที่จะหาแนวทาง และการประพฤติต่อการสงเคราะห์นั้นให้สำเร็จ ซึ่งจะยังให้ตนเกิดมุทิตา คือ ความอิ่มเอิบ และยินดีต่อความสุข และการพ้นจากทุกข์ของผู้นั้นความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ความทุกข์ คือ สิ่งที่เข้ามาเบียดเบียนให้เกิดความไม่สบายกายไม่สบายใจ และเกิดขึ้นจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน ด้านมุทิตา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความอิ่มเอิบ และยินดีในใจที่ได้เห็นผู้อื่นมีความสุข และการพ้นจากทุกข์ อันจะนำไปสู่การส่งเสริม และสนับความสุขหรือความดีนั้น ๆ ให้คงอยู่ และเจริญยิ่งๆขึ้นไป อันเป็นการกำจัดกิเลสทางใจที่ยังให้เกิดแก่อุเบกขาต่อไปความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี คือเมื่อผู้อื่นได้รับความสำเร็จ มีความสุขความเจริญก้าวหน้า ก็พลอยชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาได้รับ ไม่มีความอิจฉาริษยาในความสำเร็จของเขา ด้วยการพูดแสดงความยินดีบ้าง ส่งบัตรอวยพรไปแสดงความยินดีบ้าง มอบของขวัญมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีบ้างเป็นต้น อุเบกขา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความสงบของจิตใจด้วยการวางใจเป็นกลางต่อความสุขหรือความทุกข์ที่ตนหรือผู้อื่นได้รับ ที่ประกอบขึ้นด้วยจิตที่ปราศจากความเศร้าหมองหรือความอิจฉาริษยาต่อสิ่งนั้น ๆ การรู้จักวางเฉย หมายถึง การวางใจเป็นกลางเพราะพิจารณาเห็นว่า ใครทำดีย่อมได้ดี ตามกฎแห่งกรรม ใครทำสิ่งใดไว้สิ่งนั้นย่อมตอบสนองคืนบุคคลผู้กระทำ เมื่อเราเห็นใครได้รับผลกรรมในทางที่เป็นโทษเราก็ไม่ควรดีใจหรือคิดซ้ำเติมเขาในเรื่องที่เกิดขึ้น เราควรมีความปรารถนาดี
คือพยายามช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ในลักษณะที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
The Purposes of this research were as follows; 1. To study the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province 2. To study the role of village headman in performing duties In accordance with the 4 main principles 3. To suggest about the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province This Thematic is a qualitative qualification, which is the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province, 108 villages, 24 sub-districts, 24 sub-district chiefs, 84 village headmen, a total of 108 people. Nakhon Chai Si District Nakhon Pathom Province, including: 1. Mercy (love and good hope) 2. Kindness (compassion) 3. Good side (joy when others are good) 4. Bland (neutral mind) The research found that The role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province Which has 4 research issues: 1) mercy, 2) kindness, 3) kindness 4) equanimity Therefore, there is a suggestion to solve the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province as follows 1. loving-kindness Leaders should have compassion. Management must have ideas that need to help others to overcome suffering. If the leader has much mercy People or subordinates will be happy. 2. compassion Leaders should have hearts. Please have generosity to people who are suffering. Will be able to help the suffering people to be happy with compassion To find happiness Free from suffering 3. sympathetic joy Leaders should be happy to see people. And happy home children Is a leader that should be thought of as a delight because of the happiness of others Not envious of the success of others And are happy to see others as suffering, as leaders must find ways to help people become happy 4. equanimity Leaders should have confidence in the heart, being neutral. Both decisions And solving non-biased problems in caring for the people Makes people feel that they are getting justice
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554