Search results

413 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชน จำนวน 127 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากสถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้บริการแก่ประชาชนและชุมชน รองลงมาคือ ด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ 2) คณะกรรมการชุมชนที่มี เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร คือ ควรเพิ่มตู้แดงในชุมชนและให้ตำรวจร่วมกับอาสาสมัครเพิ่มความถี่ในการร่วมกันออกตรวจชุมชนเวลากลางคืนบ่อยขึ้น ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ควรเพิ่มกำลังให้มากกว่านี้เพื่อแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน และควรเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดให้มากขึ้น
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชน จำนวน 127 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากสถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้บริการแก่ประชาชนและชุมชน รองลงมาคือ ด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ 2) คณะกรรมการชุมชนที่มี เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร คือ ควรเพิ่มตู้แดงในชุมชนและให้ตำรวจร่วมกับอาสาสมัครเพิ่มความถี่ในการร่วมกันออกตรวจชุมชนเวลากลางคืนบ่อยขึ้น ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ควรเพิ่มกำลังให้มากกว่านี้เพื่อแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน และควรเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดให้มากขึ้น
This thematic paper hadthe objectives as follows: 1) To study the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok; 2) To compare the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok, classified with gender, education level and different occupations ; and 3) To suggest guidelines to enhance the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok. The research instruments were questionnaires. The sample group was 127 community committees, randomly selected by using Probability Sampling with simple random sampling. By drawing lots. The statistics used were basic statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test, and F-test (One-Way ANOVA). If there were significant statistical differences at the level of 0.05, the average difference will be tested in pairs by the Scheffé method. The results of the research were found as follows: 1)Performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok, in the whole view of the three aspects was at a high level. When considering each aspect by sorting the average from descending to the highest, the average value was the aspect of the provision of services to people and communities, followed by the aspect of the prevention of crime suppression, and the least average aspect was public relations. 2) Community committee with different gender, education level and occupations had opinions on the duty performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chom Thong, Bangkok, in the whole view, with no difference. 3) Guidelines for enhancing the duty performance of community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chom thong, Bangkok, were found as follows: Community relations police officers should increase the red cabinet in the community and allow the police together with volunteers to increase the frequency of sharing the community at night more often. Community relations police officers should add more force to solve community problems and needs, and should also increase more public relations channels about drug problems.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554