Search results

3 results in 0.05s

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ และตำแหน่งงาน แตกต่างกัน และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร 4 แห่ง จำนวน 207 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) มาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์และประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลมี 2 ประเภท ได้แก่ 1) สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( )และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงทำการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) และใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐจังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และด้านหลักการมีส่วนร่วม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย พบว่า บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาครที่มีเพศต่างกัน มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานบริการสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวม และในรายด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนที่มีอายุต่างกัน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่า ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่มีตำแหน่งงานต่างกัน โดยรวม แตกต่างกัน แต่ในรายด้าน พบว่าด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักความคุ้มค่า ไม่แตกต่างกัน และด้านหลักนิติธรรมด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร มีดังนี้ 1) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรรักษามาตรฐานที่ดีอยู่แล้วต่อไปอย่างต่อเนื่องในด้านนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งจะเป็นแบบอย่างองค์กรคุณภาพที่ดีทั้งในและนอกหน่วยงาน 2) บุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการส่งเสริมพัฒนาให้มีการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติหน้าที่ในด้านหลักความคุ้มค่าด้านหลักความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอยู่ในระดับมาก และด้านหลักการมีส่วนร่วม ควรเน้นให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐ จังหวัดสมุทรสาคร
และผู้รับบริการเป็นอย่างมากตามหลักความเป็นเลิศทางธรรมาภิบาล ซึ่งอยู่ในระดับมาก แต่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดใน 6 ด้าน ซึ่งจะเป็นองค์กรคุณภาพที่ดี และมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป
This thematic paper had the following objectives: 1) to study an application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon province; 2) to compare the application of good governance principles in performing duties of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, by categorizing personal factors with gender, age and occupation; and 3) to suggest guidelines for the application of good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province. It was a survey research. The sample group was public health personnel In public sector of Samut Sakhon Province, 4 locations, 207 persons. Simple Random Sampling method was used. The research instruments were questionnaires, five levels of estimation scale, with the whole confidence value of .963, analyzed and processed by computer. The used statistics for data analysis were of 2 types : 1) descriptive statistics were frequency, percentage, average and standard deviation (S.D.) and 2) inferential statistics, namely, T-test and one-way ANOVA. When differences were found to be statistically significant at the level of 0.05, the average difference was tested by Scheffé's method and using content analysis techniques. The research was found as follows : 1) The level of applying good governance in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province, including all 6 aspects, was at a high level. When considering each aspect by sorting by average from descending order, it was in the aspect of rule of law, the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost-effectiveness, the aspect of responsibility and the aspect of participation, respectively. 2) The results of the hypothesis testing of the research were found as follows: the personnel, with different gender, as the whole view and in each aspect, had no different level of applying of good governance in the performance of public health; the personnel with different age, as the whole view, had no different level, but in each aspect, it was found that personnel had no different level in the aspect of the rule of law, and the aspect of responsibility; the personnel had different level in the aspect of moral principles, the aspect of transparency, the aspect of cost effectiveness, and the aspect of participation, with statistical significance at the level of 0.05. 3) Suggestions on the application of good governance principles in the performance of public health personnel in public sector of Samut Sakhon Province were as follows: 1) in the aspect of the rule of law, the aspect of moral principles, and the aspect of transparency, which were at high level, the personnel should be trained to maintain such a good standard; and 2) in the aspect of cost-effectiveness, and the aspect of responsibility, which were at high level as well, the personnel should be encouraged and developed in good governance principles in performing duties; and in the aspect of participation, the personnel should be emphasized the importance of participation of public health and the service recipients, which were at a high level, but had the least average in 6 areas, and this would be a good quality organization and the most effective.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชน จำนวน 127 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากสถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้บริการแก่ประชาชนและชุมชน รองลงมาคือ ด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ 2) คณะกรรมการชุมชนที่มี เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร คือ ควรเพิ่มตู้แดงในชุมชนและให้ตำรวจร่วมกับอาสาสมัครเพิ่มความถี่ในการร่วมกันออกตรวจชุมชนเวลากลางคืนบ่อยขึ้น ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ควรเพิ่มกำลังให้มากกว่านี้เพื่อแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน และควรเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดให้มากขึ้น
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่มีเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการชุมชน จำนวน 127 คน สุ่มตัวอย่างแบบการใช้โอกาสความน่าจะเป็น (Probability Sampling) ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากสถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร สรุปโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสุดคือ ด้านการให้บริการแก่ประชาชนและชุมชน รองลงมาคือ ด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการประชาสัมพันธ์ 2) คณะกรรมการชุมชนที่มี เพศ ระดับการศึกษา และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของตำรวจชุมชนสัมพันธ์ สถานีตำรวจนครบาลบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร คือ ควรเพิ่มตู้แดงในชุมชนและให้ตำรวจร่วมกับอาสาสมัครเพิ่มความถี่ในการร่วมกันออกตรวจชุมชนเวลากลางคืนบ่อยขึ้น ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ควรเพิ่มกำลังให้มากกว่านี้เพื่อแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน และควรเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับปัญหายาเสพติดให้มากขึ้น
This thematic paper hadthe objectives as follows: 1) To study the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok; 2) To compare the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok, classified with gender, education level and different occupations ; and 3) To suggest guidelines to enhance the performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok. The research instruments were questionnaires. The sample group was 127 community committees, randomly selected by using Probability Sampling with simple random sampling. By drawing lots. The statistics used were basic statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test, and F-test (One-Way ANOVA). If there were significant statistical differences at the level of 0.05, the average difference will be tested in pairs by the Scheffé method. The results of the research were found as follows: 1)Performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chomthong, Bangkok, in the whole view of the three aspects was at a high level. When considering each aspect by sorting the average from descending to the highest, the average value was the aspect of the provision of services to people and communities, followed by the aspect of the prevention of crime suppression, and the least average aspect was public relations. 2) Community committee with different gender, education level and occupations had opinions on the duty performance of the community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chom Thong, Bangkok, in the whole view, with no difference. 3) Guidelines for enhancing the duty performance of community relations police officers in Bangmot Metropolitan Police Station, Khet Chom thong, Bangkok, were found as follows: Community relations police officers should increase the red cabinet in the community and allow the police together with volunteers to increase the frequency of sharing the community at night more often. Community relations police officers should add more force to solve community problems and needs, and should also increase more public relations channels about drug problems.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 3.
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2. เพื่อศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 3.
เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของกำนันผู้ใหญ่บ้านในการปฏิบัติหน้าที่ ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบการวิจัยคุณภาพ (Quantitative Research) โดยเก็บข้อมูลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น กล่าวถึงวิธีการดำเนินการในการวิจัยครั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัยตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ ผู้วิจัยได้ทำการวางแผนเขียนกรอบในการวิจัย กล่าวคือ ศึกษาวิจัยก่อนแล้วจึงนำไปเปรียบเทียบกับทฤษฎีโดยเริ่มจากประเด็นที่ต้องการวิจัยแล้วนำไปสู่การทบทวนทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงมาออกแบบการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า บทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีประเด็นที่วิจัย 4 ด้าน คือ 1) ด้านเมตตา 2) ด้านกรุณา 3) ด้านมุทิตา 4) ด้านอุเบกขา จึงมีข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการปฏิบัติหน้าที่ตามหลักพรหมวิหาร 4 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ดังต่อไปนี้ ด้านเมตตา เมตตาแห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความปรารถนาหรือความประสงค์อันเกิดขึ้นในจิตที่จะยังให้ผู้อื่นมีความสุข ภายใต้จิตอันบริสุทธิ์ อันจักนำไปสู่การเกิดความกรุณาต่อไป หมายถึง ความปราถนาให้ผู้อื่นได้รับความสุข ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ความสุขเกิดขึ้นได้ทั้งกายและใจ ความสุขของคฤหัสถ์ 4 อันได้แก่ ความสุขเกิดการมีทรัพย์ ความสุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ ความสุขเกิดจากการไม่เป็นหนี้ และความสุขเกิดจากการทำงานที่ปราศจากโทษ ด้านกรุณา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความปรารถนาที่จะช่วยหรือสงเคราะห์ให้ผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ บนพื้นฐานจิตใจอันบริสุทธิ์ จนนำไปสู่การใช้ปัญญาเพื่อที่จะหาแนวทาง และการประพฤติต่อการสงเคราะห์นั้นให้สำเร็จ ซึ่งจะยังให้ตนเกิดมุทิตา คือ ความอิ่มเอิบ และยินดีต่อความสุข และการพ้นจากทุกข์ของผู้นั้นความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ความทุกข์ คือ สิ่งที่เข้ามาเบียดเบียนให้เกิดความไม่สบายกายไม่สบายใจ และเกิดขึ้นจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน ด้านมุทิตา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความอิ่มเอิบ และยินดีในใจที่ได้เห็นผู้อื่นมีความสุข และการพ้นจากทุกข์ อันจะนำไปสู่การส่งเสริม และสนับความสุขหรือความดีนั้น ๆ ให้คงอยู่ และเจริญยิ่งๆขึ้นไป อันเป็นการกำจัดกิเลสทางใจที่ยังให้เกิดแก่อุเบกขาต่อไปความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี คือเมื่อผู้อื่นได้รับความสำเร็จ มีความสุขความเจริญก้าวหน้า ก็พลอยชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาได้รับ ไม่มีความอิจฉาริษยาในความสำเร็จของเขา ด้วยการพูดแสดงความยินดีบ้าง ส่งบัตรอวยพรไปแสดงความยินดีบ้าง มอบของขวัญมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีบ้างเป็นต้น อุเบกขา แห่งพรหมวิหาร 4 เป็นความสงบของจิตใจด้วยการวางใจเป็นกลางต่อความสุขหรือความทุกข์ที่ตนหรือผู้อื่นได้รับ ที่ประกอบขึ้นด้วยจิตที่ปราศจากความเศร้าหมองหรือความอิจฉาริษยาต่อสิ่งนั้น ๆ การรู้จักวางเฉย หมายถึง การวางใจเป็นกลางเพราะพิจารณาเห็นว่า ใครทำดีย่อมได้ดี ตามกฎแห่งกรรม ใครทำสิ่งใดไว้สิ่งนั้นย่อมตอบสนองคืนบุคคลผู้กระทำ เมื่อเราเห็นใครได้รับผลกรรมในทางที่เป็นโทษเราก็ไม่ควรดีใจหรือคิดซ้ำเติมเขาในเรื่องที่เกิดขึ้น เราควรมีความปรารถนาดี
คือพยายามช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นจากความทุกข์ในลักษณะที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
The Purposes of this research were as follows; 1. To study the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province 2. To study the role of village headman in performing duties In accordance with the 4 main principles 3. To suggest about the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province This Thematic is a qualitative qualification, which is the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province, 108 villages, 24 sub-districts, 24 sub-district chiefs, 84 village headmen, a total of 108 people. Nakhon Chai Si District Nakhon Pathom Province, including: 1. Mercy (love and good hope) 2. Kindness (compassion) 3. Good side (joy when others are good) 4. Bland (neutral mind) The research found that The role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province Which has 4 research issues: 1) mercy, 2) kindness, 3) kindness 4) equanimity Therefore, there is a suggestion to solve the role of village headman in preforming duties according to the 4 main principles of brahma nakhon chaisi distict nakhon pathom province as follows 1. loving-kindness Leaders should have compassion. Management must have ideas that need to help others to overcome suffering. If the leader has much mercy People or subordinates will be happy. 2. compassion Leaders should have hearts. Please have generosity to people who are suffering. Will be able to help the suffering people to be happy with compassion To find happiness Free from suffering 3. sympathetic joy Leaders should be happy to see people. And happy home children Is a leader that should be thought of as a delight because of the happiness of others Not envious of the success of others And are happy to see others as suffering, as leaders must find ways to help people become happy 4. equanimity Leaders should have confidence in the heart, being neutral. Both decisions And solving non-biased problems in caring for the people Makes people feel that they are getting justice