Search results

1 results in 0.02s

หนังสือ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ
สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ใน 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อเปรียบเทียบการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (F-test/One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักอิทธิบาท 4 ขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ (1) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต และ (3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ตามลำดับ
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province, 2) to compare the local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province of people with different gender, age, education level, occupation and monthly income, and 3) To propose guidelines for promoting the local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province. The research instrument was a questionnaire. The statistics used in the data analysis were frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics one-way variance test (F-test/One-Way ANOVA). If the mean difference is found individually, it is tested by LSD (Least Significant Difference) method. The results of the study found that: 1) The opinions of people towards the local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province in all 3 aspects were at a high level overall and in aspects. When sorted by descending average level, the highest was on management and conservation of natural resources and environment, followed by quality of life promotion, and infrastructure respectively. 2) The comparison results found that people with different occupations had opinions towards the local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province in 3 aspects differently with statistically significant figure at the 0.05 level. The significantly different level was not found with the people having different gender, age and education level. 3) Guidelines for promoting local administration according to the 4 principles of Iddhipada of Tha Sai Subdistrict Administrative Organization in Mueang Samut Sakhon district of Samut Sakhon province found that personnel should be encouraged to have exchanged knowledges, opinions, and work experiences, work skills including methods of action together. In Chanda; they must choose to have faith and trust in their duty and performance beneficial to themselves and others. It is important to keep checking that faith whether it is good for oneself and others. If both are good, then strive to do it with intention. Working with good faith would give good results both for self and society. In Viriya; they have to be patient and effort with the negative feelings and hardships and hope to overcome all obstacles. With Viriya as a tool in mind, one dares to challenge all obstacles in order to achieve the goal of success. In Citta; whenever ones do things with thoughtfulness and intension, it can be said that they have followed both religious principles and social principles. Vimamsa; after self-reflection and organization reflection have been done, the weaknesses should be eradicated and the strengths should be improved regularly.