Search results

22 results in 0.07s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
The research served the purposes: 1) to study the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. 2) to compare the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province Classified by position, education and work experience. 3) to collect suggestions for the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. The number of sampling groups for conducting the research comprised 100 preschool child guardians, whose preschool children had been enrolled at the center. The samples used in this study were the personnel of the Buddhist Scripture School. Department of General Education In Roi Et. Include administrators, teachers and school board 100. The research instrument for data collection was the Likert-type questionnaire with the Index of Item Objective Congruence : IOC of each question between 0.67 and 1.00, and the reliability for the whole questions at 0.96 Statistics for data analyses embraced frequencies, percentages, standard deviations, F-tests (One-way ANOVA). Results of the research findings: 1. The condition of the academic administration is the participation of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et overall, the mean was very high. The highest average is participatory action secondary decision making participation in consultation participation in planning participation, improvement and development and the lowest is the average participation, monitoring and evaluation. 2. Comparison results Management of participatory academic affairs. The school of scripture ddepartment of general education in Roi Et cclassified by position, education and work experience. Overall, the difference was statistically significant at .05 3. Recommendations for participatory academic management of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et. There should be support and encouragement for personnel and community participation in the management of teaching. Development and use of advanced technology for education and they are ready to create a knowledgeable database of personnel. The system should be monitored, monitored and evaluated. The use of information technology for continuous development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 ประชากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ศึกษากลุ่ม 1 จำนวน 14 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครู รวมทั้งสิ้น 178 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1.การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ด้านความไว้วางใจ และด้านการตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถ ในการปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ตามด้วย ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนะคติทางบวก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถในการแก้ไขปัญหาภายในโรงโรงเรียน ตามลำดับ 3. การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับประสิทธิ์ผลของโรงเรียน มากที่สุด คือ ด้านการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน รองลงมาคือ ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ตามด้วย ด้านความยึดมั่นผูกพัน และด้านที่มีความสัมพันธ์น้อยที่สุดคือ ด้านความไว้วางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 ประชากรที่เป็นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ ศึกษากลุ่ม 1 จำนวน 14 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครู รวมทั้งสิ้น 178 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1.การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 1 มีค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความยึดมั่นผูกพัน ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ด้านความไว้วางใจ และด้านการตั้ง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน 2. ประสิทธิผลของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดไปน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถ ในการปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม รองลงมาคือ ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ตามด้วย ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนะคติทางบวก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านความสามารถในการแก้ไขปัญหาภายในโรงโรงเรียน ตามลำดับ 3. การบริหารแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์กับประสิทธิ์ผลของโรงเรียน มากที่สุด คือ ด้านการตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน รองลงมาคือ ด้านความอิสระต่อความรับผิดชอบในงาน ตามด้วย ด้านความยึดมั่นผูกพัน และด้านที่มีความสัมพันธ์น้อยที่สุดคือ ด้านความไว้วางใจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
The purposes of research were : 1) to study the the Participative Administration General Buddhist Seripture Schools Group 1 2) to study Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1 3) to study The Participative Administration Affevtiveness General Buddhist Seripture Schools Group 1. The sampling were totally 14 in schools under General Buddhist Seripture Schools Group 1 directors, duputy director, teacher, General Buddhist Seripture Schools Group 1. Total of 172 respondents. The research instrument was a questionnaire regarding the Participative Administration Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1. The statistics use for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and the stepwise multiple regession analysis. The results of the research were found that: 1. The Participative Administration General Buddhist Seripture Schools Group 1 was as most level. Considering the mean of each aspect was at the most level. Sort by average from highest to lowest level was inspiration, commitment, freedom of responsibirity in the job, fiduciary,trust. setting goals and objectives togetter. 2. The Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools Group 1 was, was as most level. Considering the mean of each aspect was at the most level. Sort by average from highest to lowest level was inspiration . ability modify and develop school in environment,.student product accomplishment, ability development attitude plas, ability solving problems inside school, respectively. 3. The Participative Administration freedom of responsibirity in the job and fiduciary Affevtiveness of General Buddhist Seripture Schools setting goals and objectives togetter. freedom of responsibirity in the job, commitment, trust, significant level at .01. and it can be written as a regression analysis equation as follow raw score forecast equation Ytot (Unstandardized Score) Ytot = 1.853 + .231X3 + .261X4 + .097X2 Rew score forecast standard equation Ztot (Standardized Score) Ztot = .401Z3 + .360Z4 + .1342
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
The objectives of the research were 1) to study the situation of An Approach of Good Governance- Based Administration for Phrapariyattidhamma Schools, General Education Division in Kalasin Province, 2) to compare the so-said administration, classified by gender, age and education, and 3) to compile the related recommendations as suggested by the respondents. The population consisted of the staff members of those schools, totally 109 in number. The device used to collect the information was the five-rating scale questionnaire with the rate of 0.67-1.00 in terms of content validity and the rate of .93 in terms of reliability. The findings can be summarized as follows: 1) The situation of the good governance-based administration employed by the ecclesiastical high schools under the Education Office of Kalasin Province was, in an overall aspect, found to stand at the ‘MUCH’ level. In an individual aspect, the item that was ranked on top of the scale in terms of mean was the rule of law, followed by morality, transparency, cost-coverage, participation and accountability, respectively. 2) The comparison of the so-said administration classified by gender was, in both overall and individual aspects, found to show no difference, but the comparison by age and education in almost all aspects displayed no difference, except in the aspect of transparence where it showed the statistically significant difference at .05. 3) The related recommendations suggested by the respondents can be described as follows: 1) The administration of budget, finance and premises needs transparence and check & balance strategy. 2) Planning and policy designing are suggested to welcome the staff members’ participation. 3) The administration of all affairs needs participation of all parties concerned.