Search results

16 results in 0.06s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แนวการจัดการศึกษา
  • บทที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา
  • บทที่ 3 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
  • บทที่ 4 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกาา
  • บทที่ 5 ทรัพยากรเพื่อการศึกษา
  • บทที่ 6 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
  • บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย
  • บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์และสังคราะห์ภาพรวมของประเทศ และผลการศึกษาเชิงลึกใน 6 จังหวัด
  • บทที่ 5 บทสรุปแนวทางการเตรียมกำลังคนที่ยึดพื้นที่เป็นฐานและข้อเสนอแนะ

Guidebook... 2562

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สะท้อนมุมมองนักคิดต่อการจัดการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
  • บริบท นโยบาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
  • 6 กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในพื้นที่
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ตอนที่ 1 สร้างนวัตกรรมบนฐานวิจัย : การทำโครงงานบูรณาการ
  • ตอนที่ 2 สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้บนฐานการวิจัย : การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บริบทการศึกษาแบบเรียนร่วมในศตวรรษที่ 21
  • ปฏิบัติการการสอนแบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมการศึกษาแบบเรียนร่วม
  • ปฏิบัติการการจัดการชั้นเรียนในการศึกษาแบบเรียนร่วม
  • ปฏิบัติการการพัฒนาและการจัดการโปรแกรมรายบุคคล
  • ปฏิบัติการการออกแบบการสอนแบบเรียนร่วม
  • ปฏิบัติการการส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวก
  • ปฏิบัติการการส่งเสริมสมรรถนะทางสังคม
  • การสะท้อนกลับ : ปฏิบัติการสู่การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ตอนที่ 1 บทนำสู่การวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว
  • บทที่ 1 การแสวงหาความรู้
  • บทที่ 2 ลักษณะของการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว
  • บทที่ 3 ประวัติและพัฒนาการของวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว
  • ตอนที่ 2 หลักการและทฤษฎี
  • บทที่ 4 เทคนิควิธีที่เกี่ยวกับการวิจัย
  • บทที่ 5 การตั้งคำถามวิจัย
  • บทที่ 6 การวัดพฤติกรรม
  • ตอนที่ 3 รูปแบบการวิจัย
  • บทที่ 7 แบบวิจัยที่นิยมของการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว
  • บทที่ 8 แบบวิจัยที่มีการจัดกระทำพหุวิธี
  • บทที่ 9 แบบวิจัยแบบเปลี่ยนเกณฑ์
  • บทที่ 10 แบบวิจัยแบบหลายเส้นฐาน
  • บทที่ 11 แบบวิจัยแบบรวมวิธี
  • บทที่ 12 การวิจัยชั้นเรียนด้วยกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ปฐมบทวาทกรรม
  • วาทกรรมการศึกษาภาพรวม
  • วาทกรรมด้านบริหารและการจัดการ
  • วาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อการศึกษาที่ยืนยง
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
The objectives of this research were: 1) to study the state of school administration of administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, 2) to develop an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, and 3) to evaluate and certify an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 486 samples in 96 schools consisting of school directors/deputy directors, chief of school subdivision and heads of the school department. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 experts in school administration. The model was evaluated and certified by 17 educational experts. The data were collected from August 2018 to November 2018 and then analyzed by percentage, mean and standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), content analysis and analytic inductive. The results of research were found that: 1) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3 main components: inputs, process and output. The state of school administration in learning contents and learning activities is obtained from Ministry of Education which is irrelevant to race, belief, culture, language, and way of life of students. 2) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3main components: 1) Input, consisting of 1.1) Educational Personnel and students’ parents, 1.2) General administration, 1.3) Budgeting administration, 1.4) Academic administration, 1.5) Mission and State Policy, 1.6) Human Resources administration, and 1.7) School Culture and Environment. 2) Process, consisting of 2.1) Multicultural educational administration, 2.2) High Expectation Teaching, 2.3) Qualified curriculums and Learning, 2.4) Reinforcement and Motivation, 2.5) Educational administration based upon 4 sublime states of mind, and 2.6) Command and Control. 3) Output, consisting of 3.1) Learning achievement, 3.2) Efficiency of School Administration, and 3.3) Desirable Characteristics and Performance of students. 3) The developed system model was evaluated and approved in accuracy, propriety, feasibility, and utility by the experts at the highest average standard level.