Search results

5,470 results in 0.05s

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย 2) เพื่อหารูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย 3) เพื่อทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย และ 4) เพื่อประเมินผลการทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้วยเทคนิคเดลฟาย สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าร้อยละเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Pair t-test และ One Sample t-test ผลการการวิจัย พบว่า : 1. สภาพปัจจุบันและความต้องการในจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย พบจุดที่ควรพัฒนา คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน 2. รูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย ที่ได้รับการเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ 1) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism) 2) กระบวนการเรียนการสอนแบบ CIPPA Model 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง แพลตฟอร์มด้านเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) 3. การทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย รูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอน ไปนำไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริงกับกลุ่มเป้าหมาย ด้วยการบริหารจัดการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ในแต่ละวัน ซึ่งมีกระบวนการดำเนินงานด้วยวงจรคุณภาพ “PDCA” 4. การประเมินผลการทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลการใช้รูปแบบการบริหารงานด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย โดยวัดจากประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนรู้ในยุคชีวิตวิถีใหม่ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้สถิติ t-test Paired Sampling ผลการทดลองมี ดังนี้ ค่าสถิติ x ̅ =1.96 SD = 4.85, ค่า t = 4.687 df = 134 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ .000 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า .05 (Sig. < .05) แสดงว่ามีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการในจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย 2) เพื่อหารูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย 3) เพื่อทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย และ 4) เพื่อประเมินผลการทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย การศึกษาเอกสาร แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้วยเทคนิคเดลฟาย สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าร้อยละเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Pair t-test และ One Sample t-test ผลการการวิจัย พบว่า : 1. สภาพปัจจุบันและความต้องการในจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย พบจุดที่ควรพัฒนา คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน 2. รูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย ที่ได้รับการเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ 1) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism) 2) กระบวนการเรียนการสอนแบบ CIPPA Model 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง แพลตฟอร์มด้านเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) 3. การทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย รูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอน ไปนำไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริงกับกลุ่มเป้าหมาย ด้วยการบริหารจัดการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ในแต่ละวัน ซึ่งมีกระบวนการดำเนินงานด้วยวงจรคุณภาพ “PDCA” 4. การประเมินผลการทดลองรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลการใช้รูปแบบการบริหารงานด้านการจัดการเรียนการสอนในยุคชีวิตวิถีใหม่ของโรงเรียนโครงการหลวงแกน้อย โดยวัดจากประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนรู้ในยุคชีวิตวิถีใหม่ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง โดยใช้สถิติ t-test Paired Sampling ผลการทดลองมี ดังนี้ ค่าสถิติ x ̅ =1.96 SD = 4.85, ค่า t = 4.687 df = 134 มีนัยสําคัญทางสถิติที่ .000 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า .05 (Sig. < .05) แสดงว่ามีคะแนนเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
The objectives of this research were : 1) to study current conditions and needs in teaching and learning management for new normal life, 2) to find an academic administration model in teaching and learning management, 3) to test the model and 4) to evaluate the academic administration model in learning and teaching management for new normal life of the Krongkanluangkaenoi School. Research tools were document study and the Delphi technique questionnaires. Descriptive statistics consisting of percentage, mean percentage, mean, standard deviation and inferential statistics of Pair t-test and One Sample t-test were used for this research. The results of the study revealed that : 1.Technology should be introduced to assist in teaching and learning management for current conditions and needs of the school. 2.The academic administration model, agreed by experts, in teaching and learning management for new normal life of the Krongkanluangkaenoi school were 1) the theory of Constructionism, 2) CIPPA Model teaching and learning process and 3) Information technology platform in Computer Assisted Instruction (CAI). 3.The model was examined in real situations with target groups by integrating with daily learning experiences operated with quality cycle process “PDCA”. 4.An evaluation of the model considered to the average scores of the results of using the management model by comparing the mean scores of learning achievement in mathematics, before and after the experiment using paired t-test. The result was that the t-test was equal to 4.687, SD = 2.86, df = 134, with a statistical significance of .000, which was less than .05 (Sig. < .05), indicating that there were significant differences in mean scores at the .05 level.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551