Search results

2,196 results in 0.09s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบวชในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสมณะในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์สมณภาวะในมิติพระพุทธศาสนาเถรวาทวิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร (Documentary Qualitative Research)และการสัมภาษณ์ (Interview) โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสารวิชาการ งานวิจัย แยกประเภทแล้วนำบทสัมภาษณ์มาจัดรวมลงในบทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันตามความเหมาะสมกับเนื้อหาของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบวชในพระพุทธศาสนาเถรวาทนั้น เป็นการออกไปจากตระกูลไม่ใช้ชีวิตแบบชาวโลก ต้องหมั่นทำจิตใจให้ออกจากกามกิเลสทั้งหลาย ด้วยการงดเว้นจากสิ่งที่เป็นโทษต่อกุศล การบวชมีอยู่ 3 ประเภท คือ เอหิภิกขุอุปสัมปทา, ติสรณคมนูปสัมปทา และญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทาซึ่งเป้าหมายสูงสุดของการบวช ก็คือการพ้นทุกข์เข้าสู่พระนิพพาน สมณภาวะในพระพุทธศาสนาเถรวาทหมายถึง ผู้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเป็นต้นไป เป็นผู้สงบ เป็นผู้ฝึกตนด้วยศีล สมาธิ ปัญญา จนกระทั่งมีกาย วาจา ใจ สงบแล้วจากบาป ดำรงตนอยู่บนเส้นทางแห่งพระนิพพาน สมณะเป็นคำเรียกนักบวชในลัทธิอื่นๆเช่นกัน คุณลักษณะของสมณภาวะ คือ สมณคุณ เป็นคุณธรรมของความเป็นสมณะ สมณวัตร เป็นหน้าที่หรือกิจที่พึงทำของสมณะ สมณวิสัย เป็นวิสัยของสมณะหรือลักษณะที่เป็นอยู่ของสมณะ เป็นผู้ที่มีวิถีชีวิตและแนวทางของการปฏิบัติที่บ่งบอกถึงความเป็นสมณะ สมณสัญญา ความสำคัญว่าเป็นสมณะอยู่ และสมณสารูป เป็นความประพฤติอันสมควรของสมณะ สมณภาวะในมิติพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลจากการศึกษาวิเคราะห์พบว่ามี 5 มิติ คือ 1) มิติทางสัญลักษณ์ 2) มิติของผู้ทรงไว้ซึ่งคุณวิเศษ 3) มิติของผู้นำทางจิตวิญญาณ 4) มิติของนักพัฒนาสังคม และ 5) มิติของผู้นำสู่ความพ้นทุกข์ แม้บทบาทของพระภิกษุสงฆ์ผู้นับว่าเป็นผู้ที่มีสมณภาวะซึ่งมีเป้าหมายสูงสุดในการปฏิบัติตนเพื่อพ้นทุกข์แล้วยังได้ทำหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาไปด้วย
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบวชในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสมณะในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์สมณภาวะในมิติพระพุทธศาสนาเถรวาทวิทยานิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร (Documentary Qualitative Research)และการสัมภาษณ์ (Interview) โดยศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสารวิชาการ งานวิจัย แยกประเภทแล้วนำบทสัมภาษณ์มาจัดรวมลงในบทต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันตามความเหมาะสมกับเนื้อหาของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า การบวชในพระพุทธศาสนาเถรวาทนั้น เป็นการออกไปจากตระกูลไม่ใช้ชีวิตแบบชาวโลก ต้องหมั่นทำจิตใจให้ออกจากกามกิเลสทั้งหลาย ด้วยการงดเว้นจากสิ่งที่เป็นโทษต่อกุศล การบวชมีอยู่ 3 ประเภท คือ เอหิภิกขุอุปสัมปทา, ติสรณคมนูปสัมปทา และญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทาซึ่งเป้าหมายสูงสุดของการบวช ก็คือการพ้นทุกข์เข้าสู่พระนิพพาน สมณภาวะในพระพุทธศาสนาเถรวาทหมายถึง ผู้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเป็นต้นไป เป็นผู้สงบ เป็นผู้ฝึกตนด้วยศีล สมาธิ ปัญญา จนกระทั่งมีกาย วาจา ใจ สงบแล้วจากบาป ดำรงตนอยู่บนเส้นทางแห่งพระนิพพาน สมณะเป็นคำเรียกนักบวชในลัทธิอื่นๆเช่นกัน คุณลักษณะของสมณภาวะ คือ สมณคุณ เป็นคุณธรรมของความเป็นสมณะ สมณวัตร เป็นหน้าที่หรือกิจที่พึงทำของสมณะ สมณวิสัย เป็นวิสัยของสมณะหรือลักษณะที่เป็นอยู่ของสมณะ เป็นผู้ที่มีวิถีชีวิตและแนวทางของการปฏิบัติที่บ่งบอกถึงความเป็นสมณะ สมณสัญญา ความสำคัญว่าเป็นสมณะอยู่ และสมณสารูป เป็นความประพฤติอันสมควรของสมณะ สมณภาวะในมิติพระพุทธศาสนาเถรวาท ผลจากการศึกษาวิเคราะห์พบว่ามี 5 มิติ คือ 1) มิติทางสัญลักษณ์ 2) มิติของผู้ทรงไว้ซึ่งคุณวิเศษ 3) มิติของผู้นำทางจิตวิญญาณ 4) มิติของนักพัฒนาสังคม และ 5) มิติของผู้นำสู่ความพ้นทุกข์ แม้บทบาทของพระภิกษุสงฆ์ผู้นับว่าเป็นผู้ที่มีสมณภาวะซึ่งมีเป้าหมายสูงสุดในการปฏิบัติตนเพื่อพ้นทุกข์แล้วยังได้ทำหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาไปด้วย
The objectives of this research were: 1) to study the ordination in Theravāda Buddhism, 2) to study monks in the Theravāda Buddhism, and 3) to analyze the monkhood in Theravāda Buddhism. The data of this qualitative were collected from the Tipitaka, concerned documents and in-depth interviews. The data were analyzed, synthesized and classified into chapters. The results of the research showed that: Ordination in Theravāda Buddhism means renouncing from family and not living in the way of the worldly life. The ordained ones must control their mind from all defilements by abstaining from things and activities that are harmful to the wholesome. There are 3 types of ordination; Ehibhikkhu Upasampada (permitted directly by the Lord Buddha), Tisaranagamanupasampada (To accept the Triple Gems as a refuge) and Ñatticatutthakamma (permitted by the Sangha motion). The ultimate goal of ordination is to enter to Nirvana. In Theravāda Buddhism, monkhood or recluse-hood means those who are the stream enterers onwards. They are calm and peaceful from sins, trained themselves by precepts, concentration, wisdom, and live their lives on the path to Nirvana. The word ‘monk’ is also used in other religions. The characteristics of monks are Samanaguna or virtues and practices necessary to monks, Samanavisaya or vision and the way of life of monks, Samanasañña or recognition and indication of themselves as monks, and Samanasarupa or behaviors and conducts suitable to monks. From the analysis of the monkhood in Theravāda Buddhism, there are 5 dimensions; 1) Symbolism, 2) Unusual Virtue Holding, 3) Spiritual Leadership, 4) Social Development Leadership, and 5) Leadership in overcome the suffering. However, even the ultimate role of monks is to eradicate suffering for themselves, but they also carry on the duty to prolong the Buddha's teachings.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551