Search results

57 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy. 2) to study the philosophy of the state of Plato. 3) to analyze the concepts of ruler ship in Theravada Buddhist philosophy and the state-based philosophy of Plato. The Result of this research were found as follows: 1. The concept of Buddhist philosophy of government has shown the views and practices that are the principles that comprise the rule of law. The purpose is for the happiness of the public. Theravada Buddhist Philosophy Focuses on Moral Guardians Good parents must behave. And control of their own behavior to the acceptance of the public. 2. The Rule of the State of Plato is the management or administration of the state (The Republic) to benefit the peace of the people. to be just to be fair and to be happiness from the philosopher king by the wise. 3. The concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy and the philosophy of the state administration of Plato. 1) There is a social ideal. 2) It has a political purpose. 3) It is based on the principle of happiness for society and people. 4) A good society requires. Morality and morality are the foundation of a balanced. 5) Under natural rules.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
The objectives of this thesis are: 1) to study the principles of leadership development in Theravada Buddhism 2) to study the leadership of the district primates in Mahasarakham Province and 3) to analyze the principles’ leadership development in Theravada Buddhist Philosophy of the district primates in Mahasarakham Province. The document and information are Tripitaka, commentary, related textbooks, data and the in-depth interviews from all 8 district primates. The received data were content analysis and an analysis of inductive conclusion’s structure. The results of research were found that: The principles of leadership development in Theravada Buddhism are as follows: the Empire 12, MahaKopal 11, Dharma of the King 10, True Friends 7, Sappurisadharmma 7, Empire 5, Wasadatchakondharm 5, Sangkhawang 4 and Itthibat 4. The leadership of the district primates in Mahasarakham province are in government, education, public welfare, public assistance, education welfare and propagation. The principles are following the Dharma discipline, stimulating, supporting, securing, patronizing, subliming states of mind, propagation Dharma disciplines and supportingsociety.Dharma principles are having Dharma disciplines, canon, Suppurisadharm, Apirihaniyadharm, Brahma 4, Achievement, and Monastic. Means are good behaviors for reliability, not overloading, creation of wisdom for society, being in the middle path, being continuous and khowing how to teach Dharma. Principles in leadership development of the district primates in Mahasarakham Province are in governmental aspect by following the Dharma disciplines. In religious study, they support the education. In education welfare, they follow the proactive approach. In propagation the religion, they do activities. In public assistance, they maintain identity as the Buddhists and in public welfare, they develop mind and objects for the public
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.บ)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2544
Note: ฉบับอัดสําเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.บ)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2544
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2545
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2545
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรม 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล 3) เพื่อวิเคราะห์หลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอลและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสารได้รวบรวมข้อมูลนำมาศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : พุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรม คือ การศึกษา 3 ประการ ได้แก่ อภิปรัชญา ญาณวิทยาและคุณวิทยา วิจัยนี้เน้นศึกษาเรื่องคุณธรรมที่เป็นจริยศาสตร์หรือพุทธจริยศาสตร์ มี 3 ข้อ ได้แก่ 1)พุทธจริยศาสตร์ขั้นพื้นฐาน คือ หลักเบญจศีลและเบญจธรรม 2) พุทธจริยศาสตร์ขั้นกลาง คือ หลักกุศลกรรมบถ 10 ประการ 3) พุทธจริยศาสตร์ขั้นสูง คือ หลักอริยสัจ 4 โดยผู้วิจัยศึกษาผ่านคำว่าคุณธรรม ที่หมายถึง คุณธรรมของ ซุนโงคู ตัวละครเอก ที่มีจิตใจและพฤติกรรมดีงามพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล หมายถึง งานเขียนของ โทริยามะ อากิระ ประเทศญี่ปุ่น ที่ถ่ายถอดอารมณ์ผ่านศิลปะด้วยภาพการ์ตูนลายเส้นอันเป็นสัญลักษณ์ที่ให้ความรู้และความสนุก ตั้งแต่เล่มที่ 1 - 13 มี 194 ฉาก จากทั้งหมดจำนวน 34 เล่ม มี 519 ฉากปรากฏคุณธรรมในพุทธปรัชญาตามแนวพุทธจริยศาสตร์มี 48 ข้อ คุณธรรมของ ซุนโงคูทั้ง 48 ข้อเป็นพุทธจริยศาสตร์ตามหลักพุทธปรัชญาได้ 2 ระดับ คือ พุทธจริยศาสตร์ขั้นพื้นฐานและพุทธจริยศาสตร์ขั้นกลาง ที่ปรากฏในหลักพุทธปรัชญา
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรม 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล 3) เพื่อวิเคราะห์หลักพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอลและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสารได้รวบรวมข้อมูลนำมาศึกษาวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : พุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรม คือ การศึกษา 3 ประการ ได้แก่ อภิปรัชญา ญาณวิทยาและคุณวิทยา วิจัยนี้เน้นศึกษาเรื่องคุณธรรมที่เป็นจริยศาสตร์หรือพุทธจริยศาสตร์ มี 3 ข้อ ได้แก่ 1)พุทธจริยศาสตร์ขั้นพื้นฐาน คือ หลักเบญจศีลและเบญจธรรม 2) พุทธจริยศาสตร์ขั้นกลาง คือ หลักกุศลกรรมบถ 10 ประการ 3) พุทธจริยศาสตร์ขั้นสูง คือ หลักอริยสัจ 4 โดยผู้วิจัยศึกษาผ่านคำว่าคุณธรรม ที่หมายถึง คุณธรรมของ ซุนโงคู ตัวละครเอก ที่มีจิตใจและพฤติกรรมดีงามพุทธปรัชญาที่ปรากฏในวรรณกรรมการ์ตูนดราก้อนบอล หมายถึง งานเขียนของ โทริยามะ อากิระ ประเทศญี่ปุ่น ที่ถ่ายถอดอารมณ์ผ่านศิลปะด้วยภาพการ์ตูนลายเส้นอันเป็นสัญลักษณ์ที่ให้ความรู้และความสนุก ตั้งแต่เล่มที่ 1 - 13 มี 194 ฉาก จากทั้งหมดจำนวน 34 เล่ม มี 519 ฉากปรากฏคุณธรรมในพุทธปรัชญาตามแนวพุทธจริยศาสตร์มี 48 ข้อ คุณธรรมของ ซุนโงคูทั้ง 48 ข้อเป็นพุทธจริยศาสตร์ตามหลักพุทธปรัชญาได้ 2 ระดับ คือ พุทธจริยศาสตร์ขั้นพื้นฐานและพุทธจริยศาสตร์ขั้นกลาง ที่ปรากฏในหลักพุทธปรัชญา
The researcher had the objectives as follows: 1) to study Buddhist philosophy, 2) to study Buddhist philosophy in Dragon ball and ,3) to analyze the Buddhist philosophy that appeared in the Dragon Ball comic. The researcher collected the data from the Tipitaka, commentary, texts, related documents, Dragon Ball comic and analyzed by qualitative research method. The results were as follows: Buddhist philosophy is the principle to analyzed based on 3 reasons; metaphysics, epistemology and ontology. 1) Basic Buddhist ethics is five precepts , 2)Intermediate Buddhist ethics is wholesome course of action 10, and 3) Advanced Buddhist ethics is The fourth Noble Truth. The study of the Dragon Ball comic book found that comic literature was general writing of all kinds that was taken with artistic emotion with drawings, symbols that provided knowledge and fun by Akira Toriyama. The researcher studied from volume 1 - 13 with 194 scenes from 42 books with 519 scenes. It was found that Buddhist philosophy appeared in 48 Dragon Ball comic books in 2 levels ,basic Buddhist ethics and intermediate Buddhist ethics
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2535
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2535