Search results

37 results in 0.08s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
และผู้ประสบภัยพิบัติในลักษณะต่าง ๆ ดังนั้นกิจการคณะสงฆ์ทุกด้านต้องใช้คุณธรรมนำการบริหารให้คำปรึกษากับคณะสงฆ์เมื่อเกิดปัญหา จัดประชุมเปิดโอกาสให้พระสังฆาธิการมีส่วนร่วม แต่การทำงานก็ต้องนำหลักของกฎหมาย หลักความโปร่งใส คุ้มค่าตรวจสอบได้
The objectives of the thesis are: 1) to study Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province, 2) to compare Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province based on their different ages, years in monkhood, and educational backgrounds, and 3) to study guidelines of Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. The data were collected from 236 monks in Nakhon Chaisi district through questionnaires and analyzed by frequency, percentile, mean, standard deviation, t-test, F-test or One-way ANOVA and Least Significant Difference test. (LSD.) The results of research were found that: 1) The opinion of monks on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province was at a high level overall. The highest level was on Buddhist propagation according to Good Governance, followed by Public Welfare according to Good Governance, Religious study according to Good Governance, Government according to Good Governance, Educational welfare according to Good Governance, and Public Assistance according to Good Governance respectively. 2) The monks with different years in monkhood and Dhamma educational levels had different opinion levels towards Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province with a statistically significant figure at 0.05, but those with different ages and general education levels showed no different opinion level on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. 3) Recommendations and suggestions: On the government according to Good Governance, the duty is to administrate, monitor, and take care of monks and novices under the Dhammavinaya and regulations of the Sangha Council. On the education according to Good Governance, the administrative monks support and promote the study of Dhamma, Palia and general education. On Education Welfare according to Good Governance, the administrative monks provide trainings and funds in study for monks, novices and children. On Propagation according to Good Governance, the temple internal and external teachings and trainings of administrative monks are all included in religious propagation. On Public Assistance according to Good Governance, the work and duty cover the development, renovation, restoration and preservation of the temple buildings, properties and objects. And on Public Welfare according to Good Governance, it is the burden of monks and temples to provide assistances to society and victims of disaster. The Sangha’s affairs should be administrated based on virtue, cooperation, laws and regulations that can lead to transparency, worthiness, and accountability.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) 2. เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาสายสามัญ และวุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการใช้หลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed methodology research) ประกอบ ด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรี- ธรรมราช ธรรมยุต จำนวน 415 รูป กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครซี่ & มอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาด กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 รูป การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ส่วนการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงพรรณนาประกอบบริบท ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษา การใช้ธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) โดยรวมทั้ง 6 หลัก พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า หลักความคุ้มค่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ หลักความรับผิดชอบ ส่วนหลักความมีส่วน ร่วม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบ การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) จำแนกตาม อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาสายสามัญ และ วุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน พบว่า จำแนกตาม อายุ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ .01 และโดยจำแนกตามพรรษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนโดยจำแนกตามวุฒิการศึกษาสายสามัญและวุฒิการศึกษาทางธรรม โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) 2. เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาสายสามัญ และวุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการใช้หลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed methodology research) ประกอบ ด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรี- ธรรมราช ธรรมยุต จำนวน 415 รูป กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครซี่ & มอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาด กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 รูป การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่า t-test และหาค่า F-test ส่วนการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงพรรณนาประกอบบริบท ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษา การใช้ธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) โดยรวมทั้ง 6 หลัก พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า หลักความคุ้มค่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ หลักความรับผิดชอบ ส่วนหลักความมีส่วน ร่วม มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2. ผลการเปรียบเทียบ การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) จำแนกตาม อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาสายสามัญ และ วุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน พบว่า จำแนกตาม อายุ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ .01 และโดยจำแนกตามพรรษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนโดยจำแนกตามวุฒิการศึกษาสายสามัญและวุฒิการศึกษาทางธรรม โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
แนวทางในการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) 1) หลักคุณธรรม พระสังฆาธิการต้องยึดมั่นในความถูกต้องดีงามเป็นที่ตั้ง มีความเสียสละ มีเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ยึดถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง 2) หลักนิติธรรม พระสังฆาธิการ ต้องมีความเคารพใน พระธรรม - วินัย กฎมหาเถรสมาคม ระเบียบ คำสั่ง รวมถึงกฎหมายบ้านเมือง 3) หลักความโปร่งใส พระสังฆาธิการต้องมีการเปิดเผยข้อมูล สามารถตรวจสอบได้ ควรส่งเสริมให้มีการจัดทำรายรับ-รายจ่าย ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตรงไป ตรงมา ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง 4) หลักความมีส่วนร่วม พระสังฆาธิการต้อง กระจายงานให้แก่บุคคลผู้เกี่ยวข้อง อย่างทั่วถึง โดยคำนึงถึงความสามารถของแต่ละบุคคล พร้อมทั้งรับฟังปัญหาและข้อเสนอต่าง ๆ 5) หลักความรับผิดชอบ พระสังฆาธิการที่ปฏิบัติงาน ต้องมีความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติอย่างถ่องแท้ มีความรับผิดชอบในงาน รวมถึงต้องสามารถปรับปรุง แก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที 6) หลักความคุ้มค่า พระสังฆาธิการต้องสามารถที่จะจัดสรรทรัพยากรที่มีให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด มีความประหยัด มีการวางแผนในการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ
The objectives of this thesis were as follows : 1. To study an application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut). 2. To compare application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) in terms of ages, periods of monkhood, degrees of formal education and degrees of Dhamma study, as differently. 3. To study the guideline for application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut). This is the mixed methodology research which composed of quantitative research by questionnaire. The population were composed of Dhammayuttikanikaya monks in Nakhon Si Thammarat province totally 415 persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, got the sample at the number of 201 persons, and qualitative research by in-depth interview from seven informants, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test, and F-test. And qualitative research analyzed by descriptive surrounding. The results reveal that 1.An application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) by overviews in three aspects are at high level, while consider in each aspects find that the aspect of valuable is the highest mean and follow up the aspect of responsibility and the aspect of participation is the lowest mean. 2. The comparative result of application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) in terms of ages find that there are different as statistically significance at .01, in terms of periods of monkhood find that there are different as statistically significance at .05, and in terms of find that degrees of Dhamma study, degrees of formal education reveal that there are not different as statistically significance at .05. 3. The suggestion on problem and resolution for application of good governance in sangkha administration of administrative monks in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) reveal that 1) Virtue; they must regard on righteousness, self sacrifice, mercy, compassion, kindness and focus on group interest. 2) Lawful; regard on Dhamma Vinaya, sangha order, rule, commanding and civil law 3) Transparency; opening document without hiding, to promote on account and deposit focus on group interest. 4) participation; to provide all work to others as coverage focus on put the right man on the right job and to have a public opinion for development. 5) Responsibility; to understand the specific work under responsible and can be improve or resolve immediately. 6) Valuable; to provide the resources in valuable, save and plan to use them.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหาร งานกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview Research) จากพระสังฆาธิการผู้มีส่วนในการบริหารคณะสงฆ์การสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 18 รูป จากทั้งหมดในเขตการปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดย การแปลผลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบบันทึกการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1.
วิทยานิพนธ์เรื่องประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหาร งานกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview Research) จากพระสังฆาธิการผู้มีส่วนในการบริหารคณะสงฆ์การสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 18 รูป จากทั้งหมดในเขตการปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดย การแปลผลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบบันทึกการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1.
จากการศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราชตามภารกิจการบริหารคณะสงฆ์ 6 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน ดังนี้ 1) ด้านการปกครอง การปกครองของคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการวางแผนงานในการงานรวมถึงมีการกำหนดนโยบายในการทำงาน และมีการบริหารเป็นไปตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎมหาเถรสมาคม ระเบียบมติมหาเถรสมาคมกำหนดไว้ 2) ด้านการศาสนศึกษา การศาสนศึกษาเป็น เรื่องสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน หลายวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดีมีการจัดตั้งสถานที่เรียนและส่งเสริมการเรียนการสอนต่อพระภิกษุและสามเณรที่สนใจในการเรียนทั้งด้านบาลีและนักธรรม 3) ด้านการเผยแผ่ จากการศึกษาพบว่า พระสังฆาธิการเอาใจใส่ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยการเทศนาสั่งสอนประชาชนโดยทั่วไปเพื่อให้ตั้งมั่นอยู่ในหลักคำสอนในทางพุทธศาสนา เพราะพระสังฆาธิการมีหน้าที่สำคัญในการนำเอาหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาไปเผยแผ่แก่ประชาชน 4) ด้านการศึกษาสงเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า การส่งเสริมให้มีการศึกษาเป็นการสงเคราะห์ประชาชน ด้านการ ศึกษาให้มีความรู้ความสามารถที่จะดำรงตนและดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขการจัดการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลและการช่วยเหลือเกื้อกูลการศึกษาให้ผู้ที่มีความสนใจได้เข้ามาศึกษาและสามารถใช้ในชีวิต ประจำวันได้ 5) ด้านสาธารณสงเคราะห์บทบาทของความเป็นพระสังฆาธิการในการ ช่วยเหลือสังคมทั้งความคิด และกำลังทรัพย์ในด้านต่าง ๆ 6) ด้านการสาธารณูปการ จากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ระหว่างวัดและชุมชน เช่น อบรม บรรยายธรรมให้แก่คนในชุมชน ทางคณะสงฆ์แต่ละวัดมีความสามัคคีกันช่วยกันสอดส่องดูแล อาคารเสนาสนะต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อยดูดีเป็นที่น่ามอง 2.ผลการศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 1) ปัญหาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน พบว่า การทำงานของคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราชนั้นมีปัญหาที่เป็นปัญหาหลักของการทำงาน คือ คณะสงฆ์ธรรมยุตแม้จะมีการกำหนด นโยบายและการวางแผนงานในการทำงานแล้วก็ตามแต่เป็นการกำหนดนโยบายแบบรูปธรรมมากว่าการปฏิบัติงาน และการใช้งานบุคคลากรก็ไม่ตรงตามกับงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดบุคลากรในการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ รวมทั้งพระสังฆาธิการผู้ปกครองบางท่านไม่มีความรู้ในด้านการบริหารงานคณะสงฆ์อย่างชัดเจนจริง 2) แนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน พบว่า คณะสงฆ์ธรรมยุตควรมีการวางแผนงานในการทำงานอย่างชัดเจน มีการคัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมเกี่ยวกับงาน รวมทั้งควรมีการแก้ไขปัญหาซึ่งกันและกัน และควรมีการแต่งตั้งกรรมการในการทำงานด้านต่าง ๆ ของคณะสงฆ์
The objectives of this thesis were as follows : 1) To study Effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. 2) To study the problem and resolution on effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. This is the qualitative research by in-depth interview from eighteen informants with purposive sampling, The instrument for data collection was interview form and data analysis by descriptive content analysis from the respondents. The results reveal that 1) The Effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province by overviews in six aspects are at very high level, as follows; 1) the aspect of ruling reveals that they have plan and policy for working according to Sangha supreme council. 2) the aspect of religious study reveals that it is so important because of base on learning especially Dhamma and Pali for novice and monk in temple. 3) the aspect of dissemination reveals that they teach people with Buddha’s teaching for spread of Dhamma and stable of Buddhism. 4) education welfare reveals that they need for education welfare for living a better life and happy in society. 5) the aspect of public welfare reveals that they help people by teaching and some materials in society. 6) the aspect of public assistant reveals that there are more of activities between temple and community they help each others i.e. training teaching and others equipments facilities for good looking. 2) The the problem and resolution on effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. The problem by including for six aspects reveal that the main problem is the abstract of planning and policy, not for good performance, not put the right man on the right job and lack of personel, some of ecclesiastics are not good for administration as well. The resolution by including for six aspects reveal that there should have a plan for working as clear and clear and put the right man on the right job, and there should have a committee for working in each aspects.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ที่มี อายุ พรรษา ตำแหน่งทางการปกครอง วุฒิการศึกษาสายสามัญ และวุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) จำนวน 415 รูป หาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 รูป สถิติ ที่ใช้ คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือใช้การทดสอบ t-test และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA o F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1)คณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มีการนำหลักทศพิธราช ธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) โดยรวมทั้ง 10 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ข้อ 1 ด้านทาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ข้อ 8 ด้านอวิหิงสา ส่วน ข้อ 7 ด้านอักโกธะ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด 2)แสดงผลการเปรียบเทียบ คณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มีการนำหลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ที่มี อายุ พรรษา การศึกษาทางโลก และการศึกษาทางธรรม ต่างกัน พบว่า โดยรวมทั้ง 10 ด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3)คณะสงฆ์ได้เสนอแนะเกี่ยวกับแนวการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มากที่สุดคือ ด้านตปะ คือ ควรมีการปฏิบัติ หน้าที่ของตนเพื่อความสุขของพระภิกษุและสามเณร ควรการบริหารกำหนดการวางแผนงานที่จะปฏิบัติและให้สงเคราะห์แก่ภิกษุสามเณร ควรการบริหารการจัดการช่วยเหลือภิกษุสามเณรผู้ประสบภัยธรรมชาติ รองลงมา คือ ด้านมัททวะ คือ การมีอัธยาศัยที่อ่อนโยน และอ่อนน้อมถ่อมตนไม่ลบหลู่เหยียดหยามพระภิกษุและสามเณร ควรการมีจิตสาธรณะในการดูแลพระสงฆ์ผู้ที่ผู้สูงอายุ ควรมีกัลยาณมิตรช่วยเหลือคณะสงฆ์อย่างเต็มสามารถด้วยกรุณา น้อยที่สุดคือ ด้านอาชชวะ คือ ควรมีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่อหน้าที่ ไม่หลอกลวงประชาชน ควรมีจิตสาธารณะในการอบรมเยาวชน ควรการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริต ไม่มุ่งหวังหรือแสวงหาประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ที่มี อายุ พรรษา ตำแหน่งทางการปกครอง วุฒิการศึกษาสายสามัญ และวุฒิการศึกษาทางธรรม ที่ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) จำนวน 415 รูป หาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 รูป สถิติ ที่ใช้ คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือใช้การทดสอบ t-test และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA o F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1)คณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มีการนำหลักทศพิธราช ธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) โดยรวมทั้ง 10 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ข้อ 1 ด้านทาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ข้อ 8 ด้านอวิหิงสา ส่วน ข้อ 7 ด้านอักโกธะ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด 2)แสดงผลการเปรียบเทียบ คณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มีการนำหลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ที่มี อายุ พรรษา การศึกษาทางโลก และการศึกษาทางธรรม ต่างกัน พบว่า โดยรวมทั้ง 10 ด้านไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3)คณะสงฆ์ได้เสนอแนะเกี่ยวกับแนวการใช้หลักทศพิธราชธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดนครศรีธรรมราช (ธรรมยุต) มากที่สุดคือ ด้านตปะ คือ ควรมีการปฏิบัติ หน้าที่ของตนเพื่อความสุขของพระภิกษุและสามเณร ควรการบริหารกำหนดการวางแผนงานที่จะปฏิบัติและให้สงเคราะห์แก่ภิกษุสามเณร ควรการบริหารการจัดการช่วยเหลือภิกษุสามเณรผู้ประสบภัยธรรมชาติ รองลงมา คือ ด้านมัททวะ คือ การมีอัธยาศัยที่อ่อนโยน และอ่อนน้อมถ่อมตนไม่ลบหลู่เหยียดหยามพระภิกษุและสามเณร ควรการมีจิตสาธรณะในการดูแลพระสงฆ์ผู้ที่ผู้สูงอายุ ควรมีกัลยาณมิตรช่วยเหลือคณะสงฆ์อย่างเต็มสามารถด้วยกรุณา น้อยที่สุดคือ ด้านอาชชวะ คือ ควรมีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่อหน้าที่ ไม่หลอกลวงประชาชน ควรมีจิตสาธารณะในการอบรมเยาวชน ควรการปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริต ไม่มุ่งหวังหรือแสวงหาประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่
The objectives of this thesis were as follows : 1) To study the application of the ten royal virtues in Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut). 2) To compare the application of the ten royal virtues in Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) in terms of ages, periods of monkhood, ruling positions, formal education and Dhamma educations as differently. 3) To study the suggestion on application of the ten royal virtues in Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut).The population composed of 4,379 persons in Nakhon Si Thammarat province, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, at the reliability at 95%, got the sample at the number of 201 persons. and in depth interview with 7 key informants The statistics were used as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test, and F-test. The results revealed that 1) The application of the ten royal virtues in Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) by overviews were at high level, when considered in each aspects from more to less found that the aspect of Dana is the highest mean and follow up the aspect of Avihingsa and the aspect of Akkodha is the lowest mean, respectively. 2) The comparative results of application of the ten royal virtues in Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province (Dhammayut) in term of of ages, periods of monkhood, ruling positions, formal education and Dhamma educations found that by overviews for all aspects there are not different as statistical significance at .05. 3) The suggestion, the ecclesiastics should manage with compassion to control bad emotion in serious situation and carefully up to carry out. Whenever the problem has occurred then try to make understand the way to resolution without emotion, there should try to study the ten rules for Sangha’s administration for other regions to compare the differentiation or accordance with administration, there should change the sample to people for comparison of opinions and bing the research finding to develop in the future, there should study the work performance of Sangha’s administration according to Buddhist principle i.e. sanghahavatthu 4, Gharavasadhamma 4 Brahma-vihara 4, Itthipada 4, Saraniyadhamma 6, Aparihaniyadhamma 7, etc. to make comparison with this research finding, there should study the Buddhadhamma and administration in real situation, there should compare Dhammayuti administration and others with qualitative and quantitative research.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี พรรษา อายุ วุฒิการศึกษาทางธรรม และวุฒิการศึกษาสามัญ ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาปัญหา และแนว ทางการแก้ไขเกี่ยวกับการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed methodology research) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 415 รูปกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครซี่ & มอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 6 รูป การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน หาค่า t-test และ หาค่า F- test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงพรรณนาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า 1)ผลการศึกษาการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเมตตาธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านมุทิตาธรรม ส่วน ด้านกรุณาธรรม มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2)ผลการเปรียบเทียบการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตาม พรรษา อายุ วุฒิการศึกษาทางธรรม และวุฒิการศึกษาสายสามัญ ต่างกัน พบว่า จำแนกตามพรรษา จำแจกตามวุฒิการศึกษาทางธรรม และจำแนกตามวุฒิการศึกษาสายสามัญ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอ แนะเกี่ยวกับปัญหาในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คณะสงฆ์ในความเป็นบุคคล พื้นที่ บริบท สภาพความ เป็นอยู่ก็จะแตกต่างไป เพราะฉะนั้นบริหารกิจการคณะสงฆ์อาจจะไม่ทั่วถึง เช่น ถ้าหากว่ามีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดก็อาจจะทั่วถึงโดยไม่ต้องมีการขอ ไม่ต้องมีการบอกกล่าว แต่หากว่าเป็นพระผู้น้อยที่ไม่มีความใกล้ชิด ที่อยู่ห่างไกล อาจจะขาดตกบกพร่องไปบ้าง แต่เจ้าคณะปกครองก็ไม่ได้เอาใจใส่ ไม่ได้ดูแล เท่าที่ควร แนวทางการแก้ไขปัญหา พระสังฆาธิการควรที่จะต้องเข้าไปดูแลวัดในเขตที่ตนเองปกครองให้มากขึ้น เพื่อที่จะให้การบริหารกิจการคณะสงฆ์จะเป็นไปโดยเรียบร้อย
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่มี พรรษา อายุ วุฒิการศึกษาทางธรรม และวุฒิการศึกษาสามัญ ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาปัญหา และแนว ทางการแก้ไขเกี่ยวกับการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช การวิจัยครั้งนี้กำหนดรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed methodology research) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากร ได้แก่ พระภิกษุในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 415 รูปกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของเครซี่ & มอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 201 รูป และการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 6 รูป การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน หาค่า t-test และ หาค่า F- test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิงพรรณนาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า 1)ผลการศึกษาการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเมตตาธรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านมุทิตาธรรม ส่วน ด้านกรุณาธรรม มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2)ผลการเปรียบเทียบการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช จำแนกตาม พรรษา อายุ วุฒิการศึกษาทางธรรม และวุฒิการศึกษาสายสามัญ ต่างกัน พบว่า จำแนกตามพรรษา จำแจกตามวุฒิการศึกษาทางธรรม และจำแนกตามวุฒิการศึกษาสายสามัญ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3)ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ข้อเสนอ แนะเกี่ยวกับปัญหาในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คณะสงฆ์ในความเป็นบุคคล พื้นที่ บริบท สภาพความ เป็นอยู่ก็จะแตกต่างไป เพราะฉะนั้นบริหารกิจการคณะสงฆ์อาจจะไม่ทั่วถึง เช่น ถ้าหากว่ามีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดก็อาจจะทั่วถึงโดยไม่ต้องมีการขอ ไม่ต้องมีการบอกกล่าว แต่หากว่าเป็นพระผู้น้อยที่ไม่มีความใกล้ชิด ที่อยู่ห่างไกล อาจจะขาดตกบกพร่องไปบ้าง แต่เจ้าคณะปกครองก็ไม่ได้เอาใจใส่ ไม่ได้ดูแล เท่าที่ควร แนวทางการแก้ไขปัญหา พระสังฆาธิการควรที่จะต้องเข้าไปดูแลวัดในเขตที่ตนเองปกครองให้มากขึ้น เพื่อที่จะให้การบริหารกิจการคณะสงฆ์จะเป็นไปโดยเรียบร้อย
The objectives of this thesis were as follows : 1) To study an application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. 2) To compare an application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of periods of monkhood, ages, degrees of Dhamma study, degrees of formal education as differently. 3) To study the suggestion on application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. This is the mixed methodology research which composed of quantitative research by survey. The population were composed of Dhammayuttikanikaya monks in Nakhon Si Thammarat province totally 415 persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, got the sample at the number of 201 persons, and qualitative research by in-depth interview from six informants, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test, and F-test. And qualitative research analyzed by descriptive surrounding. The results reveal that 1)An application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province by overviews in three aspects are at high level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of Metta Dhamma is the highest mean and follow up the aspect of Mudhita Dhamma and the aspect of Karuna Dhamma is the lowest mean respectively. 2)The comparative result of application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province in terms of periods of monkhood, degrees of Dhamma study, degrees of formal education reveal that there are different as statistically significance at .05 in terms of ages there are not different as statistically significance at .05 which are not set along with hypothesis. 3)The suggestion on problem and resolution for application of Brahmavihara Dhamma in Dhammayuttikanikaya Sangha’s affairs administration in Nakhon Si Thammarat province reveal that ; the problem show that all monks are live in different places, not close each others, and the Sangha’s rulers are not regarding as more as possible. The resolution reveal that they should look after the responsible area as more for good interaction.